2433 ข้อความ
- 1 คนสงสัยจริงหรือ หยุดยาวนี้ ขึ้นมอเตอร์เวย์ฟรี 12 วัน 18-23 พย. และ 9-14 ธค.กรมทางหลวง ย้ำ วิ่งมอเตอร์เวย์ฟรี 2 สายทาง ช่วงหยุดยาวรวม 12 วัน ในเดือน พ.ย. และ ธ.ค. อำนวยความสะดวกประชาชนเดินทางท่องเที่ยว-กลับภูมิลำเนาnaydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 12 คนสงสัยลักษณะข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็งในอเมริกาShi S และคณะได้ตีพิมพ์งานวิจัยเพื่อประเมินแนวโน้มการแพร่กระจายข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็ง ในวารสารวิชาการทางการแพทย์ Cureus เดือนมกราคม 2019 เค้าวิเคราะห์โดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับการค้นหาข้อมูลโดยใช้ Google trends ตั้งแต่ปี 2011-2018 ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบสิ่งที่น่าสนใจหลายอย่างทีเดียว 1. มีการค้นหาเรื่องกัญชารักษามะเร็งมากกว่าการค้นหาวิธีรักษามะเร็งแบบมาตรฐานถึง 10 เท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐที่เปิดเสรีกัญชาหรือปลดล็อคกฎหมาย 2. ในบรรดาข่าวที่เผยแพร่เกี่ยวกับวิธีการรักษามะเร็งแบบทางเลือกนั้น มีกัญชาถึงราวหนึ่งในสี่ 3. ข่าวลวงตัวท็อปเรื่องกัญชารักษามะเร็งนั้นทำให้คนหลงเชื่อมาอ่าน คลิกหรือแชร์ รวมกว่า 4 ล้านครั้ง ในขณะที่ความพยายามแก้ข่าวลวงด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องนั้น คนกลับตอบสนองเพียง 36,000 ครั้งเท่านั้น 4. องค์กรวิชาการหรือหน่วยงานด้านมะเร็งมีอัตราการเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ประชาชนและผู้ป่วยน้อยมาก ไม่ว่าจะเป็นเฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์ ฯลฯ 5. หากเทียบตัวต่อตัว ระหว่างข้อมูลที่เผยแพร่จากหน่วยงานวิชาการที่เชื่อถือได้ กับข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็ง พบว่าอัตราการ retweet ต่างกันราวฟ้ากับเหว กล่าวคือ ข่าวลวงมีอัตราการ retweet เยอะกว่าข่าวจริงถึง 100 เท่า (527 vs 5.6 retweets) ในขณะที่อัตราการดู คลิก แชร์ ในเฟซบุ๊คนั้น ข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็งก็เอาชนะข่าวจริงไปถึง 4,500 เท่า (452,050 vs 98 engagements) งานวิจัยนี้น่าสนใจ และน่าจะสามารถอธิบายได้ว่า ทำไมข่าวลวงทั้งหลาย จึงสามารถทำให้หลายต่อหลายคนเชื่องมงายเรื่องกัญชารักษามะเร็งได้อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ทำไงดี? ดูแลลูกหลานและคนในครอบครัวให้ดี พยายามใช้สติและปัญญาในการเสพข่าว เลี่ยงแหล่งข่าวที่เล่นกับกิเลสและความกลัว พยายามช่วยกันทำให้คนใกล้ชิดรู้เท่าทันเท่าที่สามารถจะทำได้โควิด 2019std48079• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยวี BTS เดทกับ เจนนี่ black pinkต้นสังกัดออกมาเผยถึงประเด็นที่ทั่วโลกสนใจ “วี BTS” และ “เจนนี่ BLACKPINK” มีคลิปที่อ้างว่าเป็น 2 ศิลปินดังเดินจับมือกันที่กลางกรุงปารีสstd47942• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ปวดกระดูกและศีรษะ เท้าเย็น เสี่ยงไตวายเฉียบพลันมากกว่าปกติตามที่มีคำแนะนำด้านสุขภาพเรื่องปวดกระดูกและศีรษะ เท้าเย็น เสี่ยงไตวายเฉียบพลันมากกว่าปกติ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยโรงพยาบาลราชวิถี 2 (รังสิต) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้นstd47737• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการเลือกตั้งนายกต้องมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไปไม่น้อยกว่าสามครั้ง 2. การดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีนับแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งจนถึงวันที่ความเป็น รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงข่าวการเมืองเลือกตั้งpare0628820799• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการบินไทย เปิด 2 ทางเลือก 'เออร์รี่ รีไทร์' รับสมัคร 19-28 ต.ค. จ่ายพิเศษเพิ่มอีกหนึ่งเดือนจากเงินชดเชยตามกฎหมาย แต่ผ่อนจ่าย 12 งวดไม่ระบุชื่อ• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเอกสารแจ้งเลขออกรางวัล สลากกินแบ่งรัฐบาลล่วงหน้า งวดวันที่ 1 ก.ค. 63 จริงหรือคะเอกสารที่มีผลออกสลากกินแบ่งรัฐบาลล่วงหน้า เลขท้าย 3 ตัว เลขท้าย 2 ตัว งวดประจำวันพุธ ที่ 1 กรกฎาคม 2563 ทางสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลได้ออกมาจริงหรือคะanonymous• 5 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัย🇰🇷🇰🇷Hanmi Coldmask Spray สเปรย์ฆ่าเชื้อพ่นจมูก ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันไวรัส Covid19และเชื้อโรคต่างๆในอากาศ เข้าสู่เยื่อบุโพรงจมูก นำเข้าจากประเทศเกาหลี เชื้อไวรัสโควิด-19 แพร่กระจายทางอากาศผ่าน ละอองฝอยขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน (Airborne transmission ) แขวนลอยในอากาศ มีชีวิตได้หลายชั่วโมง และพร้อมที่จะเข้าปอดเมื่อสูดหายใจเข้าไป หน้ากากอนามัยกรองเชื้อไวรัสได้ 65-85% ร่วมกับ การใช้ Hanmi Coldmask Spray สเปรย์พ่นจมูก ดักจับไวรัส เชื้อโรค และละอองฝอยขนาดเล็กกว่า 5ไมครอน ไม่ให้เข้าสู่เยื่อบุโพรงจมูก ⭕️วิธีใช้ เปิดฝา เขย่าขวด และสอดปลายหัวพ่นเข้าไปในรูจมูกทั้งสองด้าน ข้างละ 1-2 ครั้งแล้วสูดหายใจเข้า พ่นวันละ 2-3 ครั้ง หรือ 6-8 ชั่วโมง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันไวรัส เชื้อโรคต่างๆ ในอากาสเข้าสู่เยื่อบุโพรงจมูก เหมาะสำหรับผู้ใหญ่ สตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร และเด็กอายุ 3 ปีขึ้นไป Hanmi Coldmask Spray สเปรย์พ่นจมูก ▶️ ดักจับ ไวรัส และเชื้อโรคที่แพร่กระจาย ไม่ให้เข้าสู่โพรงจมูก ▶️ ออกฤทธิ์เร็วภายใน 2 นาที ▶️ มีการศึกษาทำให้ไวรัส มีฤทธิ์อ่อนลง ป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ ▶️ ไม่ใช่ยา ไม่มีฤทธิ์ทำให้ง่วงนอน ▶️ ปลอดภัย สารสกัดจากธรรมชาติ ▶️ ลดปริมาณเชื้อไวรัส ที่หายใจเข้าไป ▶️ ป้องกันการติดเชื้อ ลดความรุนแรงของโรคได้โควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว2 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยช่อง Mono29 ออกข่าวเมื่อสักครู่ คุณหมอธีระแจ้งให้ประชาชนตุนอาหารเพื่อ 2-3 สัปดาห์ถัดจากนี้โควิดจะรุนแรงมากห้ามกิจกรรมภายนอกบ้านค่ะ ด้วยรักและห่วงใยค่ะ💐❤️ มีเรื่องเตือนนะคะ ตอนนี้ ยอดคนติดโควิด น่าจะเยอะกว่าตัวเลขที่เห็น 3-4 เท่า สิ่งที่ต้องทำคือ 1.ถ้าการเบิกจ่ายเงิน ต้องไปแต่ที่แบงค์ ให้รีบไปโอนเงินเข้าบัญชี จำนวนหนึ่ง ที่พออยู่ได้ 1-2 เดือน พร้อมถือเงินสดไว้ด้วยนิดนึง ** เพราะใกล้มีคำสั่งปิดแบงค์แล้ว** 2.พยายามกินอาหารสด ตอนนี้ ก่อนไล่กินอาหารแห้ง อาหารกระป๋อง เพราะมีโอกาสได้กินแน่ เร็วๆนี้ 3.สั่งอาหารที่เก็บได้นาน อาหารแห้ง อาหารกระป๋อง น้ำดื่ม มาตุนไว้ได้แล้ว เดือน ส.ค.- ก.ย. จะวิกฤตที่สุด 4.ตุนยารักษาโรคทุกชนิดที่มีขาย และ สมุนไพรเสริมภูมิ + รักษาโควิด ให้มากที่สุด 5.ทุกสถานที่ ตอนนี้ ใกล้ถูกสั่งปิดอีกรอบ รีบจัดการให้เรียบร้อย ยังพอมีเวลาโควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยด่วน‼ Mike Yeadon อดีตหัวหน้านักวิทยาศาสตร์ของ Pfizer กล่าวว่าตอนนี้สายเกินไปที่จะช่วยชีวิตผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีน Covid-19 เขาขอเรียกร้องให้ผู้ที่ยังไม่ได้รับการฉีดสารพิษร้ายแรงนี้ ให้ต่อสู้เพื่อการดำรงอยู่ของมนุษย์และชีวิตของลูกหลานในอนาคต นักภูมิคุ้มกันวิทยาที่ได้รับการยกย่องทั่วโลกกล่าวต่อไป....ถึงกระบวนการ/แผนการ ที่จะฆ่าคนส่วนใหญ่ที่ยังมีชีวิตอยู่ ทันทีที่ได้รับการฉีดเข็ม แรกประมาณ 0.8% ของผู้คนที่รับ จะเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์. ผู้ที่ยังรอดชีวิต...มีจะอายุขัยโดยเฉลี่ย 2 ปี แต่จะลดลงเรื่อยๆเมื่อ ฉีดเสริม(เข็มต่อๆมา) หรือ ฉีด "บูสเตอร์ * ทุกครั้ง วัคซีนเสริม...อยู่ในระหว่างการพัฒนาเพื่อทำให้เกิดความเสื่อมโทรมของอวัยวะอย่างเฉพาะเจาะจง เช่น หัวใจ ปอด และสมอง ... ด้วยความคุ้นเคยอย่างใกล้ชิดกับการทำงานและเป้าหมายของการวิจัยและพัฒนาของยักษ์ใหญ่ด้านเภสัชกรรม..ไฟเซอร์เป็นเวลา 2 ทศวรรษ ศาสตราจารย์ Yeadon กล่าวว่าเป้าหมายสุดท้ายของปัจจุบันของการฉีดวัคซีน..อาจเป็นเพียงเหตุการณ์การลดจำนวนประชากร..ซึ่งจะทำให้สงครามโลกทั้งหมดที่รวมกันดูเหมือนเป็นเพียงการสร้างมิกกี้เมาส์ 'หลายพันล้านคนได้รับผลร้ายไปแล้ว... ความตายและเจ็บปวดรวดร้าว ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ผู้ที่ได้รับการฉีดแต่ละคนจะต้องเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอย่างแน่นอน และ 3 ปีเป็นการประมาณที่เมตตาแล้วสำหรับระยะเวลาที่พวกเขาคาดหวังว่าจะมีชีวิตอยู่ " https://www.lifesitenews.com/news/exclusive-former-pfizer-vp-your-government-is-lying-to-you-in-a-way-that-could-lead-to-your-deathโควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยหัวใจวายอย่างกะทันหันในโรงละครสิงคโปร์ แพทย์และผู้ช่วยในสิงคโปร์ตบข้อศอกภายในของผู้ป่วยและเขาหายดีหลังจากประมาณ 2 นาทีหัวใจวายอย่างกะทันหันในโรงละครสิงคโปร์ แพทย์และผู้ช่วยในสิงคโปร์ตบข้อศอกภายในของผู้ป่วยและเขาหายดีหลังจากประมาณ 2 นาที วิดีโอนี้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อให้ความสนใจกับผู้ป่วยหัวใจและวิธีการรับมือกับอาการหัวใจวายที่มักเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน หลายคนกลายเป็นคนไร้ประโยชน์และตายระหว่างทางไปโรงพยาบาล โปรดจำไว้ว่า: 1. โดยการตบข้อศอกด้านในของมือซ้ายตามที่แสดงในวิดีโอ จะช่วยกระตุ้นจุดเสริมความดัน 3 จุดรอบด้านซ้ายที่เกี่ยวข้องกับหัวใจและปอด 2. การตบจะช่วยเร่งการไหลเวียนโลหิต ทำให้บุคคลรู้สึกอบอุ่นและหยุดเหงื่อออก คุณต้องรู้ว่าหัวใจวายเกิดจากการอุดตันของการไหลเวียนโลหิต โดยการตบและตบข้อศอกด้านในของมือ คุณสามารถเพิ่มอุณหภูมิร่างกาย หลีกเลี่ยงการรวมตัว และอำนวยความสะดวกในการไหลเวียนโลหิต จากนั้นพาคนไปโรงพยาบาลทันที ดีที่จะตบด้านในของข้อศอกซ้ายทุกวัน เนื่องจากสามารถป้องกันโรคหัวใจใด ๆ และลดการเกิดโรคหัวใจวายได้ ต้องแบ่งปันกับทุกการติดต่อ ความพยายามเล็ก ๆ น้อย ๆ สามารถช่วยชีวิตคนได้👇Mrs.Doubt• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยหนักกว่า Part Back order คือ... ไม่มี Part ในระบบให้กดสั่ง เท้าความก่อน รถไปเกิดอุบัติเหตุชนมา วันที่ 4 มิถุนายน ชนบริเวณหน้าซ้าย เอาเข้าศูนย์จรัญตั้งแต่วันที่ 4 มิถุนายน ทางศูนย์ก็ถอดประเมินในสัปดาห์ถัดมา และลิสรายการของที่ต้องสั่ง ศูนย์จรัญแจ้งว่า บางชิ้น Back order อาจต้องรอนาน บางชิ้นเคยสั่ง เกือบ3เดือน อันนี้ตกใจ 1 แต่มองว่าปกติ เจอตกใจ 2 ศูนย์แจ้งว่า Part บางชิ้นกดสั่งในระบบไม่ได้ เพราะไม่มีให้คีย์ ต้องเมลถาม GWM ก่อน OMG ถึงวันนี้ จอดมา 2 สัปดาห์นิดๆแล้ว ศูนย์ยังไม่สามารถสั่งของได้ครบเลย เนื่องจากไม่มี Part ให้กดในระบบ ขอถาม ORA Thailand GWM Thailand หน่อย คุณขายรถแต่ Spare part ไม่สามารถกดสั่งได้ หนักกว่า Back order อีกนะนี่ มันใช่หรอ แต่คงเป็นบอท มา copy paste คำตอบเหมือนเดิม เพื่อนๆก็ขับกันดีๆ อย่าไปชนหนัก ไม่งั้นเจอแบบผมอาจต้องจอดยาว ถึงวันนี้ยังไม่รู้กำหนดเลยว่ากี่เดือน เพราะวันนี้ยังกดสั่ง Part ไม่ได้อีก 5 รายการผู้บริโภคเฝ้าระวังไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัย#นิวยอร์คไทม์ รีพอร์ตของนิวส์ยอร์คไทม์ครับ นี่คือการจัดอันดับวัคซีนอันดับ 1-4 เป็นของจีน แต่ไฟเซอร์ที่หลายคนชื่นชมอยู่อันดับที่ 6 ครับ . -อันดับความปลอดภัยของวัคซีนที่ฉีดในไทยตอนนี้ Sinovac กับ AZ อยู่อันดับ 2 และ 5 ในขณะที่ Pfizer ที่เรียกร้องอยากฉีดอยู่อันดับ 6 . Report by The New York Times on Feb 5, 2021. In the safety ranking, the top four are all Chinese vaccines: 1. Sinopharm (China) 2. Sinovac (China) 3. Kexing (China) 4. Can Sino (China) 5. AstraZeneca (UK) 6. Pfizer (United States and Germany) 7. Modena (United States) 8. Johnson & Johnson (United States) 9. Novavax (United States) 10. Satellite 5 (Russia) Sinopharm has two vaccines, ranking first and second respectively. China has exported more than 500 million doses of vaccines to more than 50 countries around the world, and it is estimated that hundreds of millions of people have been vaccinated. And China's vaccine accident rate is lower and safer. As reported by Western media, many wealthy people in Britain fly to the UAE to vaccinate Chinese national medicine. https://www.nytimes.com/2021/02/05/opinion/covid-vaccines-china-russia.html เลือกเอาครับระหว่าง โพลล์ไทย กับ โพลล์อเมริกัน...คนไทยเชื่อในเรื่องที่ตัวเองไม่ได้อ่านแล้วศึกษา...มักเชื่อตามกระแส... ... ที่มา📌 https://www.facebook.com/1337643342/posts/10219575334117433/โควิด 2019วัคซีนโควิดไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัวmeter: false2 ความเห็น
- 2 คนสงสัยสถานการณ์ ล่าสุด หลังจากประชุมบอร์ด ที่ มหิดลฯ วันนี้ นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา ซึ่งเป็นผู้แลนโยายด้านโควิด โดยตรงของประเทศ 1. ตัวเลข 2,000 จะอยู่กับเราไปอีก ประมาณ 15 วัน เป็นอย่างน้อย 2. ถ้าไม่มีคลัสเตอร์ใหญ่เพิ่มขึ้น ก็ ตึงมือ จนจะรับไม่ได้อยู่แล้ว ถ้ามี ก็ ตัวใครตัวมัน 3. ให้ระวังความสะอาดขั้นสูงสุด โดยเฉพาะการสั่งอาหารโดย grab 4. ตัวเลขติดเชื้อ 65% ติดจากคนในบ้าน 5. สามี ภรรยา ถ้ามีห้องแยก ควรแยกกันนอนอย่างน้อย 2 เดือน 6. ห้ามคนเข้าบ้าน เด็ดขาด ไม่ว่า จะไว้ใจแค่ไหนก็ตาม 7. ควรฉีดวัคซีน (อันนี้ เราคุยกันแล้ว ว่า หมอก็พูดแบบนี้ 8. วัคซีนกำลังเร่งเต็มที่ให้เข้ามา ซึ่งก็คือ sinovac กับ astra 9. ต้องตัดใจจริงๆ ห้ามประมาทเด็ดขาดในทุกๆ เรื่องโควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเรียน ผู้บังคับบัญชา ด้วยนายสถาปัตย์ สุวรรณมณี ได้ไปตรวจคัดกรองโควิด – 19 เมื่อวันที่ 29 เม.ย. 64 เวลา 10.30 น. ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัด แล้วพบว่าติดเชื้อ เมื่อวันที่29 เม.ย. 64 เวลา 18.20 น. อำเภอจึงได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. นายสถาปัตย์ สุวรรณมณี ขณะนี้เข้ารับการรักษาตัว ที่รพ.มหาราช 2. วันที่ 30 เม.ย. ปิดสำนักทะเบียนอำเภอเมืองฯ เพื่อทำความสะอาด ยกเว้น ศูนย์ราชการสะดวก เซ็นทรัลพลาซ่าฯ ยังเปิดให้บริการปกติ 3. วันที่ 30 เม.ย. เวลา 10.00 น. อำเภอฯได้ประสานมูลนิธิพุทธธรรม 31 นครราชสีมา มาฉีดพ่นฆ่าเชื้อโรค ณ อาคารที่ว่าการอำเภอฯ ทั้ง 2 อาคาร 4. ให้บุคลากรผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด (กลุ่มเสี่ยงสูง) ไปตรวจหาเชื้อแล้ว ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัด และให้กักตัว 14 วัน 5. ประชาสัมพันธ์ให้กำนัน ผญบ แจ้งผู้ที่มาติดต่องานทะเบียนตั้งแต่ 19 -24 เม.ย. ไปตรวจหาเชื้อ 6. ให้ปิดบริการสำนักทะเบียนทั่วไป ตั้งแต่วันที่ 1 – 14 พค. ทั้งนี้ หากได้ไทม์ไลน์ของนายสถาปัตย์ ฯ แล้ว จักได้ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบโควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัย/// อย่าทำตัวเป็นพลเมืองดี พาคนเจ็บส่ง รพ 1. เซ็นต์ชื่อพาคนเจ็บมา 2. เซ็นต์ชื่อรักษาพยาบาลหรือผ่าตัด 3. เซ็นต์ชื่อรักษาพยาบาล หลังหายป่วยแล้ว คุณ..คือผู้คำัประกันต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด...อย่าหาทำ...ไม่ระบุชื่อ• 10 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัย🔊แจ้งทุกคนนะคะ รบกวนสามาชิกทุกคน ย้ายไปคุยกันในกลุ่มที่ 2 เอานะคะ เข้าพรี แอดจะลบห้องนี้แล้วค่ะ #เนื่องจากมีมิจฉาชีพเข้ามาก่อกวน ///กดลิงค์เข้ากลุ่มได้เลยค่ะ line.me/ti/g2/Vn-4m7flSU1g4a7-KnzfCTo6gwkPdGdpui5SrQแอคปลอมไม่ระบุชื่อ• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 3 คนสงสัยบอกบุญ!! วัดพระบาทน้ำพุบอกบุญ!! วัดพระบาทน้ำพุ ขอข้าวสาร-ขนมปัง เลี้ยงคน 2 พันชีวิต ช่วยแชร์หน่อย ถ้าเราแชร์ไป ให้ใครคนหนึ่ง คนใดก็ตาม ทางวัดพระบาทน้ำพุจะได้รับ เงิน 15 บาท OK!Mrs.Doubt• 3 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยต่างประเทศ ออกข่าวของ vaccine Pfizer, Moderna ที่มีส่วนผสมของแม่เหล็ก อาจมีผลกระทบต่อร่างกายในอีก 1-2 ปี ภายหน้า ตั้งใจฟังให้ดีค่ะ วัตถุดิบที่วัคซีนโควิดไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัวmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยรถโดยสารและรถบรรทุก ที่มีค่าควันดำเกินกำหนด ถูกปรับสองหมื่นบาท จริงหรือมีการเผยแพร่ข้อความว่าหากกรมการขนส่ง ตรวจพบว่ารถคันใดมีควันดำเกินที่กำหนด ต้องเสียค่าปรับเป็นเงิน 2 หมื่นบาท จริงหรือanonymous• 4 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกด Cancel 2 ครั้ง ก่อนสอดบัตร ATM เพื่อป้องกันการขโมยรหัสจริงหรือบนโซเชียลแชร์ข้อแนะนำที่บอกว่าเป็นประโยชน์มาก ทุกครั้งที่ใช้ตู้เอทีเอ็มขอให้กดปุ่ม Cancel 2 ครั้ง ก่อนสอดบัตร เผื่อใครแอบตั้งค่าขโมยรหัสไว้จะได้ยกเลิกการตั้งค่านั้นก่อน เรื่องจริงหรือเปล่าanonymous• 5 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจริงหรือ ขยายเวลาเสียภาษีที่ดินออกไปอีก 1-2 เดือนอปท.หลายแห่งขยายเวลาจ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างไปอีก 1-2 เดือน จากเดิมสิ้นสุดในวันที่ 31 ส.ค.นี้ หลังไม่สามารถจัดเก็บภาษีได้ทันตามกำหนดnaydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยมติ ครม. เห็นชอบวันหยุดชดเชยสงกรานต์ ทำให้มีวันหยุดยาว 4-7 กันยายน จริงหรือมติ ครม. เห็นชอบวันหยุดชดเชยสงกรานต์ ที่เหลืออีก 2 วัน คือวันศุกร์ที่ 4 กันยายน และวันจันทร์ที่ 7 กันยายน รวมหยุดยาวต่อเนื่อง 4 วัน ตั้งแต่วันที่ 4-7 กันยายน 2563 จริงหรือanonymous• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยประเทศ นิวซีแลนด์ พบผู้ติดเชื้อรายใหม่ อีกครั้ง หลังจากไม่มีผู้ติดเชื้อมาถึง 24 วัน จริงหรือนิวซีแลนด์ยืนยันพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายใหม่ 2 คน ซึ่งเป็นการกลับมาพบผู้ติดเชื้อรายใหม่เป็นครั้งแรก หลังปลอดจากการพบผู้ติดเชื้อรายใหม่มานานติดต่อกัน 24 วันnaydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยระวัง 5 ข่าวลือป่วนวัคซีนโควิด-19 โคแฟคแนะเช็กก่อนแชร์แผนการฉีดวัคซีนเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd Immunity) ป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสโควิด-19 กลับไม่ราบรื่นนัก เพราะเกิด “ข่าวลือข่าวลวง (Misinformation)” ในสังคมที่สร้างความตื่นตระหนก การเข้าใจแบบผิดๆ นำไปสู่ความไม่ไว้วางใจที่จะเข้ารับการฉีดวัคซีน นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งภาคีโคแฟค ประเทศไทย (cofact.org) ได้เปิดเผย 5 ข่าวลือข่าวลวงที่เกี่ยวข้องกับผลข้างเคียงหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ของวัคซีนโควิด-19 ที่กำลังถูกพูดถึงในประเทศไทยและต่างประเทศ ได้แก่ 1.วัคซีนฝังไมโครชิป: เป็นประเด็นที่ถูกลือกันมากที่สุดในสังคมตะวันตก ตั้งแต่เริ่มมีการแพร่ระบาดในช่วงแรกๆ โดยเชื่อว่าเป็นแผนการของพวกนายทุนด้านเทคโนโลยีที่ต้องการปูทางไปสู่การฝังไมโครชิปประชากรทั่วโลก เช่น ข่าวจาก BBC รายงานว่าผลการสำรวจของ ยูกอฟ (YouGov) บริษัทรับทำโพลชื่อดังของอังกฤษ ที่สอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างชาวอเมริกันจำนวน 1,640 คน สรุปผลได้ว่า 28% เชื่อเรื่องแผนการฉีดวัคซีนเพื่อฝังไมโครชิป เป็นต้น ข่าวลือนี้เกิดขึ้นเมื่อเดือน มี.ค. 2563 เจ้าพ่อไอที บิลล์ เกตส์ (Bill Gates) ผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟต์ ออกมาพูดเปรยๆ ว่าในอนาคตจะมีการออกใบรับรองดิจิทัลสำหรับผู้ที่เคยป่วยจากไวรัสโควิดและได้รับการรักษาจนหายแล้วไปจนถึงผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีน ข่าวลือเรื่องวัคซีนโควิดฝังไมโครชิปกลับมาพูดถึงอีกครั้งในช่วงปลายปี 2563 เมื่อสหรัฐฯ เตรียมการฉีดวัคซีนโควิด-19 โดยใช้วัคซีนที่พัฒนาโดยไฟเซอร์ (Pfizer) ทำให้ทางไฟเซอร์ต้องชี้แจงส่วนผสมของวัคซีนซึ่งมีอยู่ประมาณ 10 ชนิด ซึ่งเป็นส่วนผสมที่ใช้ในวัคซีนหลายๆ ชนิดอยู่แล้ว และไม่มีส่วนผสมที่เกี่ยวข้องกับไมโครชิป เมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2564 กระทรวงสาธารณสุขของออสเตรเลีย ก็ได้ออกมายืนยันว่า ไม่พบการติดตั้งซอฟต์แวร์หรือไมโครชิปในวัคซีนโควิด-19 ในชนิดใดๆ ที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้ จากการตรวจสอบทางบีบีซี สรปได้ว่า ข่าวลือนี้ไม่เป็นความจริง 2.วัคซีนเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอมนุษย์: ข่าวลือนี้ที่ถูกพูดถึงพร้อมสร้างความเป็นกังวลกันเป็นอย่างมากในสังคมไทยและต่างประเทศ โดยกล่าวถึงพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (DNA) ในกระบวนการผลิตและการทำงานของวัคซีน จะส่งผลข้างเคียงทำให้ดีเอ็นเอของผู้ที่ได้รับวัคซีนเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกา (CDC) จึงออกมาชี้แจงเรื่องนี้ว่า วัคซีนที่ใช้เทคโนโลยีทั้ง 2 ชนิด คือ mRNA เช่น วัคซีนของไฟเซอร์และโมเดอร์นา (Moderna) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดที่นำรหัสพันธุกรรมส่วนเล็กๆ ของไวรัสมาใช้กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน กับ Viral Vector เช่น วัคซีนของแอสตราเซเนกา (AstraZeneca) ใช้วิธีฝากสารพันธุกรรมของไวรัสโควิด-19 ไปกับไวรัสชนิดอื่น แต่เมื่อเข้าไปในร่างกายแล้วจะเกิดการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสโควิด-19 ด้วย และถึงแม้จะส่งสารพันธุกรรมเข้าไปในร่างกายมนุษย์ แต่สารนั้นจะไม่เข้าไปถึงนิวเคลียสอันเป็นที่เก็บดีเอ็นเอ จึงไม่ส่งผลกระทบต่อดีเอ็นเอแต่อย่างใด ทางสำนักข่าวบีบีซีและรอยเตอร์ตรวจสอบแล้วพบว่าข่าววัคซีนเปลี่ยนดีเอ็นเอนี้ไม่เป็นความจริง 3.วัคซีนทำให้คนเป็นหมัน: การมีลูกเพื่อสืบทอดถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากในหลายๆ ครอบครัว ข่าวลือนี้ได้สร้างความเครียด กังวลใจและมีแนวโน้มว่าในกลุ่ม สามี-ภรรยาหลายคู่จะปฏิเสธการรับวัคซีน เพราะเชื่อว่าวัคซีนวัคซีนป้องกันไวรัสโควิด-19 ส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ กระทรวงสาธารณสุขของออสเตรเลีย โดยหน่วยงานบริหารสินค้าด้านอายุรเวท (Therapeutic Goods Administration-TGA) ได้ระบุว่า ข่าวลือนี้อ้างถึงโปรตีนซินซิติน-1 (Syncytin-1) ที่ช่วยการพัฒนารก ซึ่งมีอยู่ในหนามแหลมของเชื้อโควิด-19 เหมือนกัน แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันทางวิทยาศาสตร์ที่บ่งชี้ว่าการได้รับวัคซีนโควิด-19 หรือแม้แต่วัคซีนป้องกันโรคอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์หรือการพัฒนาของรกแต่อย่างใด ข่าว "แนะท่านชายนำเชื้ออสุจิไปแช่แข็งก่อนรับวัคซีนโควิด” ได้ตรวจสอบแล้วว่าไม่เป็นความจริงด้วยเช่นกัน โดยศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย บมจ.อสมท ตรวจสอบจากแหล่งข้อมูล #SureVac โดย Newtral.es 4.วัคซีนช่วยเพิ่มขนาดอวัยวะเพศชาย: สาเหตุที่ประเด็นนี้ถูกพูดถึงเนื่องจากมีการอ้างถึงงานวิจัยชิ้นนึงว่า วัคซีนโควิด-19 จะช่วยเพิ่มขนาดของอวัยวะเพศชายให้ยาวขึ้น ทำให้ รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ออกมาชี้แจงว่าไม่เป็นความจริง เมื่อต้นเดือน ม.ค. 64 ถึงกรณีมีการส่งต่อภาพที่อ้างว่าเป็นข่าวจากสำนักข่าว CNN สหรัฐอเมริกา ที่พาดหัวข่าวว่า แพทย์สนับสนุนให้ฉีดวัคซีนโควิด-19 ที่อวัยวะเพศชาย เพราะจะทำให้วัคซีนกระจายไปทั่วร่างกายเร็วขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นมีการแชร์ไปถึงขนาดว่า ยังจะช่วยเพิ่มขนาดอวัยวะเพศชายให้ยาวขึ้นได้ถึง 3 นิ้ว โดยทั้ง 2 ข่าวได้กล่าวถึงอ้างงานวิจัย แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นข่าวปลอมทั้งหมด ตั้งแต่งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ทำการศึกษาจากลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,500 คน นั่นไม่มีอยู่จริง หรืออ้างถึงวารสารวิชาการ The New England Journal of Merdecine นั้นก็ไม่มีอยู่จริง โดยวารสารที่มีจริงคือ The New England Journal of Medicine ซึ่งก็ไม่เคยตีพิมพ์บทความทำนองนี้แต่อย่างใด แม้กระทั่งสำนักข่าว CNN ก็ไม่เคยเสนอข่าวตามภาพที่นำมาอ้างกันด้วย เช่นเดียวกับตรวจสอบจากสำนักข่าว AFP และ อีกหลายสำนักสรุปตรงกันข่าวที่อ้าง CNN นี้เป็นข่าวลวง 5. วัคซีนมีส่วนผสมของเนื้อสัตว์ต้องห้ามตามหลักศาสนา: ในบางศาสนานั้นมีข้อห้ามการบริโภคอาหารที่มีส่วนผสมของสัตว์บางชนิด เช่น ศาสนาฮินดูห้ามบริโภคเนื้อวัว ศาสนาอิสลามห้ามบริโภคเนื้อหมู ทำให้เมื่อมีการเผยแพร่ข่าวลือผิดๆ ว่าวัคซีนป้องกันไวรัสโควิด-19 ทำจากส่วนประกอบของสัตว์ดังกล่าว ดังนั้นจึงนำไปสู่การปฏิเสธการรับวัคซีนจากบรรดาศาสนิกชน ที่ประเทศอังกฤษ ช่วงต้นปี 2564 ดร. ฮาร์พรีท สูท (Harpreet Sood) หัวหน้าหน่วยต่อต้านข่าวปลอม สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (NHS) ยอมรับว่าทีมงานทำงานกันอย่างหนักและยากลำบากด้วยข้อจำกัดด้านภาษาและวัฒนธรรม จากกรณีพบผู้มีเชื้อสายเอเชียใต้ (ภูมิภาคที่ประกอบด้วยประเทศอินเดีย ปากีสถาน อัฟกานิสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์) ที่อาศัยอยู่ในอังกฤษมีแนวโน้มปฏิเสธการรับวัคซีนโควิด-19 โดยต้องทำงานร่วมกับผู้นำศาสนา อธิบายให้ศาสนิกชนเหล่านี้มั่นใจว่าวัคซีนโควิด-19 ไม่มีเนื้อสัตว์เป็นส่วนผสม และทาง Newsweek เองก็มีการตรวจสอบแล้วว่าเป็นข่าวลวง โดยเฉพาะในวัคซีนของไฟเซอร์ และในส่วนของประเทศอินโดนีเซียที่ประชากรนับถือศาสนาอิสลามส่วนใหญ่ได้เริ่มมีการฉีดวัคซีนกันไปแล้ว ความสับสนและข่าวปลอมเรื่องวัคซีนที่เกิดขึ้นและแพร่กระจายออกไปในวงกว้างดังกล่าวนี้ สุภิญญา ยอมรับว่าข้อมูลข่าวสารเรื่องวัคซีนไม่นิ่งและอลหม่านมากจึงทำให้คนกลัว ไม่ใช่แค่ในประเทศแต่ทั่วโลก มีทั้งมิติวิทยาศาสตร์และการเมืองปนกัน เรื่องวัคซีนยังเป็นนโยบายสาธารณะด้วย ดังนั้นภาครัฐต้องเร่งตอบคำถามจากสังคมให้ชัดเจน เช่น ทำไมเราได้รับฉีดวัคซีนช้า มีตัวเลือกอื่นหรือไม่ การบริหารจัดการโปร่งใสหรือเปล่า และ การเข้าถึงวัคซีนเป็นสิทธิ์ทั่วถึงเป็นธรรม รวมถึงการให้ข้อมูลที่สร้างความมั่นใจในความปลอดภัย เป็นต้น ซึ่งภาครัฐต้องสร้างความเชื่อมั่น ส่วนประชาชนควรแยกแยะว่าอะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือความคิดเห็นหรือความเชื่อ จะได้ไม่สับสนและมีความมั่นใจมากขึ้น ถ้าไม่แน่ใจอะไร ส่งมาให้สื่อมวลชน เช่น สำนักข่าว AFP ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ สมาคมนักข่าวฯ และ โคแฟคเพื่อช่วยตรวจสอบได้เช่นกันstd46896• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ