1 คนสงสัย
น้ำมะพร้าว
การดื่มน้ำมะพร้าวช่วยให้ผิวขาวขึ้นจริงไหม?
Peupeu.
 •  3 ปีที่แล้ว
meter: middle
1 ความเห็น

ความสวยความงาม

Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน

เหตุผล

น้ำมะพร้าวมีฮอร์โมนเอสโตรเจน ช่วยทำให้ผิวพรรณสดใส เปล่งปลั่ง ขาวนวลขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ น้ำมะพร้าวมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการสร้างคอลลาเจนและ

ที่มา

https://www.thairath.co.th/lifestyle/health-and-beauty/1566183

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ น้ำเกลือสำหรับใช้ภายนอกช่วยฆ่าเชื้อไวรัสได้
    เราสามารถใช้น้ำเกลือช่วยในการฆ่าเชื้อไวรัสได้
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำมะกรูดหมักน้ำตาล แก้เจ็บคอ แก้ท้องอืด เลือดไหลเวียนดี จริงหรือ
    มีการแชรืกันในโลกออนไลน์ว่า มะกรูดมีประโยชน์หลายอย่าง แต่ดื่มมะกรูดหมักน้ำตาล แก้เจ็บคอ แก้ท้องอืดเลือดไหลเวียนดี จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คลอรีนผงผสมน้ำเพื่ออาบ ทำให้ผิวขาว
    ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องคลอรีนผงผสมน้ำเพื่ออาบ ทำให้ผิวขาว ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ คลอรีนเป็นสารกัดกร่อน จัดเป็นวัตถุอันตรายใช้สำหรับฆ่าเชื้อโรค ไม่เหมาะกับร่างกายของมนุษย์ อีกทั้งจัดเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง หากสัมผัสผิวหนังในปริมาณมากจะทำให้ผิวหนังไหม้รุนแรง ระคายเคืองดวงตาและระบบทางเดินหายใจ แนะใช้ตรงตามวัตถุประสงค์และปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลาก เพื่อความปลอดภัย
    std47931
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำด่าง หรือเรียกกันว่าน้ำอัลคาไลน์ ป้องกันมะเร็งได้ จริงหรือ
    น้ำอัลคาไลน์ หรือน้ำด่าง คือน้ำดื่มที่มีค่าความเป็นกรด ด่าง หรือค่า pH มากกว่า 7 ซึ่งตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท กำหนดค่าความเป็นกรด–ด่างต้องอยู่ระหว่าง 6.5–8.5 น้ำด่างกำลังเป็นที่พูดถึงในวงกว้างว่าเมื่อดื่มแล้วจะทำให้ร่างกายเกิดสมดุล และช่วยป้องกันไม่ให้เกิดมะเร็งได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำมะนาวฆ่าเชื้อโควิด19 ไม่ได้
    กรณีที่มีการแชร์ข้อมูลในโลกออนไลน์ ถึงสรรพคุณของมะนาว ที่อ้างว่าสามารถรักษาโรคโควิด-19 จึงนำข้อมูลนี้ สอบถามกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค นายกสมาคมเวชศาสตร์ป้องกัน แห่งประเทศไทย ระบุว่า มะนาวมีวิตามินซีสูง ช่วยให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันแต่ไม่สามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้ ดร.นพ.พรเทพ กล่าวว่า “สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เป็นการฆ่าเชื้อโรค แต่ไปทำให้เชื้อโรคไม่สามารถฝังเข้าไปในเซลล์ของทางเดินหายใจและปอดได้ง่าย และให้กำจัดออกทิ้งไป ยังไม่มียาใดๆ ทั้งสิ้น ในการฆ่าเชื้อไวรัส ในโลกนี้ ยาที่มีอยู่ ที่ใช้ตอนนี้คือ ยาฟาวิราเวียร์ ก็เพียงแต่ทำให้เชื้อมันอ่อนแรง และร่างกายกำจัดมันด้วยการกินมันด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาวเท่านั้นเอง แต่อย่าไปเข้าใจผิดว่าถ้าเราป่วยหนัก แล้วไปถินพวกนี้จะทำให้เชื้อหมดไปจากร่างกาย มันเป็นไปไม่ได้” ดร.นพ.พรเทพ กล่าว อ้างอิง: Workpoint Today
    naruemonjoy
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    น้ำมะพร้าว
    มีคนบอกว่ากินน้ำมะพร้าวแล้วจะขาวขึ้น?
    เอลฟ์😃
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    กินข้าวกล้องควบคุมน้ำหนักได้จริงหรอ???
    เมื่อเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการของข้าวกล้อง กับข้าวขาว จะพบว่ามีปริมาณพอ ๆ กันแต่ข้าวกล้องจะมีวิตามิน และเกลือแร่ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่า และเนื่องจากข้าวกล้องยังมีเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวอยู่ ทำให้ร่างกายย่อยข้าวกล้องได้ช้ากว่าข้าวขาว ร่างกายจึงนำเอาน้ำตาลที่ได้จากการย่อยข้าวไปใช้เป็นพลังงานได้น้อยกว่า นอกจากนี้ใยอาหารที่มีในข้าวกล้องยังช่วยให้อิ่มนาน ดังนั้นหากบริโภคข้าวกล้องในปริมาณที่เหมาะสม ลดการกินจุบจิบ ควบคู่กับการออกกำลังกายจะช่วยในการควบคุมน้ำหนัก
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำตอนเล่นมือถือ
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ ห้ามดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์โดยใช้สายไปด้วย เพราะกระแสไฟจะวิ่งเข้าหัวใจและเสียชีวิต . ตามที่มีข้อมูลแนะนำเกี่ยวกับเรื่องห้ามดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์โดยใช้สายไปด้วย เพราะกระแสไฟจะวิ่งเข้าหัวใจและเสียชีวิต ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ . จากที่มีผู้ส่งต่อข้อมูลว่า ห้ามดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์โดยใช้สายไปด้วย เพราะกระแสไฟจะวิ่งเข้าหัวใจและเสียชีวิต ทางศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า คลิปที่มีการเผยแพร่ต่อ ๆ กันดังกล่าว เป็นเพียงการแสดงเท่านั้น เพราะหากถูกไฟดูดจริง จะต้องมีการสะบัดมือที่จับโทรศัพท์ หรือร่างกายต้องกระตุกจากการโดนไฟช็อต รวมทั้งกระแสไฟจะต้องครบวงจรก่อน ซึ่งไม่ต้องรอถึงขั้นดื่มน้ำก็สามารถที่จะโดนไฟดูดได้แล้ว . ทั้งนี้ การเสียชีวิตโดยที่มีกระแสไฟวิ่งเข้าหัวใจหลังจากดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์นั้น ไม่เกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด ซึ่งการเสียชีวิตดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับวัสดุที่มีแรงดันไฟฟ้ามาอยู่ใกล้กับอวัยวะในร่างกายที่ค่อนข้างบอบบาง เช่น หู แก้ม เป็นต้น . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่งหรือแชร์ข้อมูลต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.nectec.or.th/ หรือ โทร. 02-564-6900 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : การเสียชีวิตโดยที่มีกระแสไฟวิ่งเข้าหัวใจหลังจากดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์นั้น ไม่เกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด ซึ่งการเสียชีวิตดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับวัสดุที่มีแรงดันไฟฟ้ามาอยู่ใกล้กับอวัยวะในร่างกายที่ค่อนข้างบอบบาง เช่น หู แก้ม เป็นต้น . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
    std48339
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สระว่ายน้ำถ้าคลอรีนที่ใส่ได้มาตรฐาน สามารถฆ่าเชื้อโควิดได้ หรือเปล่าคะ
    คลอรีนสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ โดยเฉพาะถ้าในสระว่ายน้ำใส่คลอรีนตามมาตรฐาน สามารถฆ่าเชื้อโควิดได้หรือเปล่าคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การประปาอุบลฯลงข้อมูลระดับน้ำไม่ตรงกับกรมชลประทาน เพราะเหตุใด
    มีคำถามในกลุ่มไลน์ ถึงข้อมูลระดับแม่น้ำมูล สะพานเสรี ของการประปาส่วนภูมิภาค ไม่ตรงกับข้อมูลของกรมชลประทานเพราะเหตุใด อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องชี้แจง
    สุชัย เจริญมุขยนันท
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false