2435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยกินน้ำใบมะละกอช่วยต้านมะเร็งกินน้ำใบมะละกอ ช่วยให้หายจากมะเร็งsanukulmallika• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจิงจูฉ่าย สรรพคุณดีๆ ช่วยแก้มะเร็งได้“จิงจูฉ่าย” ผักใบเขียวลักษณะคล้ายต้นขึ้นฉ่าย เมนูยอดฮิตของคนชอบกินเกาเหลาเลือดหมู มีงานวิจัยออกมาแล้วว่า นอกจากประโยชน์ แก้ไข้ไตบำรุงปอด ฟอกเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนดี ยังช่วยรักษาโรคมะเร็งด้วย มาดูกันว่า จิงจูฉ่ายนี้มีสรรพคุณและดีอย่างไร ชื่อว่าหลายๆท่านที่ชอบกินเกาเหลาเลือดหมู หรือเมนูต้มทั้งหลายจะรู้จักกันดีกับผักลักษณะใบแฉกๆ สีเขียว คล้ายๆกับต้นขึ้นฉ่าย หรือที่เรียกกันว่า “จิงจูฉ่าย” จิงจูฉ่าย คือชื่อของผักของจีนชนิดหนึ่งส่วนมากนิยมนำไปใส่ในเกาเหลาเลือดหมูเพราะช่วยดับกลิ่นคาวเลือดได้และ มีสรรพคุณทางสมุนไพรสำหรับ จิงจูฉ่ายเป็นที่นิยมมากของชาวจีน เนื่องจากจิงจูฉ่ายเป็นยาเย็น (หยิน)กลิ่นน้ำมันหอมระเหยจากใบและลำต้นจิงจูฉ่าย ยิ่งต้มร้อนๆหรือ กินสดๆ จะมีสารไลโมนีน ซิลนีน และสารกลัยโคไซด์ที่มีชื่อว่า อะปิอิน ซึ่งสารเหล่านี้มีสรรพคุณ ช่วยปรับสมดุลความดันโลหิต จึงเหมาะกับผู้ที่มีปัญหาเรื่องความดัน อีกทั้งช่วยขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ดีด้วย ส่วนลำต้นสด และเมล็ดของต้น “จิงจูฉ่าย” มีโซเดียมต่ำ จึงดีต่อผู้ป่วยโรคไตstd48329• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการยกเลิก112ศาลรัฐธรรมนูญมีมติถามอัยการสูงสุด พร้อมให้ชี้แจงภายใน 15 วัน หลังไม่พิจารณาคำร้อง ปม “พิธา-ก้าวไกล” ยกนโยบายแก้ ม.112 หาเสียงmoopai.011• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัย20 ปี คดีลวงโลก “หมวยโซ” กุเรื่องข่มขืนบนตุ๊กๆ หลักฐานสำคัญปิดคดีย้อนไป 20 ปี คดีลวงโลกที่สร้างความปั่นป่วนให้กับตำรวจไทย หนีไม่พ้นกรณี “หมวยโซ” จอมลวงโลก ที่อ้างว่าถูกชาย 4 คน ข่มขืนบนรถตุ๊กๆ แต่ตำรวจสืบสวนจนได้หลักฐานสำคัญ เป็นภาพจากกล้องวงจรปิด จนสามารถปิดคดี และล้างข้อครหาให้กับคนขับรถตุ๊กๆ ชาวไทย ที่เกือบกลายเป็นแพะรับบาป 20 ปี คดีลวงโลก “หมวยโซ” กุเรื่องข่มขืนบนตุ๊กๆ หลักฐานสำคัญปิดคดีstd47990• 2 ปีที่แล้ว
- 5 คนสงสัยผลิตภัณฑ์เสริมอาหารพบผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Blue M Gold โฆษณาโอ้อวดสรรพคุณทางเพศเกินจริง อย.ตรวจสอบ พบสถานที่ผลิตอยู่ในสถานะพักใช้ใบอนุญาต เตือนประชาชนอย่าหลงเชื่อซื้อมาบริโภค เพราะอาจได้รับอันตรายnukandap• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโทษของบุหรี่มีรายงานจากหลายผลการศึกษาว่าการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องสะสมนานหลายปี ไม่เพียงก่อให้เกิดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอด แต่ยังเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับ ลำไส้ใหญ่ กระเพาะปัสสาวะ ตลอดจนโรคเรื้อรังอื่นๆ เช่น เพิ่มโอกาสเสียชีวิตจากวัณโรค เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานสูงขึ้น 30-40% จอตาเสื่อม การตั้งครรภ์นอกมดลูก โรครูมาตอยมะเร็งsupriyachosingam• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยข่าวดี! ทางด่วนฟรี 60 ด่าน รับวันหยุดราชการ 5 และ 10 ธ.ค. 65 นี้การทางพิเศษแห่งประเทศไทยประกาศยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ 3 สายทาง รวมทั้งสิ้น 60 ด่าน รับวันหยุดราชการวันที่ 5 และ 10 ธันวาคม 2565 นี้Mrs.Doubt• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยการก่อการร้ายในอาเซียนมีเพจๆหนึ่งได้เสนอข่าว ว่าทางประเทศอินโดนีเซียได้จับตัวผู้ก่อการร้ายได้ และยังบอกอีกว่าทางประเทศญี่ปุ่นได้ออกมาเตือนอาจจะเกิดการก่อการร้ายใน อาเซียนNoppadon Khongporn• 4 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัย*ยินดีต้อนรับสู่ปี 2021 และรับของขวัญปีใหม่* 🎆🎆🎆🎆🎆🎆🎆🎆 https://vip-j87.work/j/?c=mr 13:00:27โควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 5 ปีที่แล้ว3 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยกรุงเทพ จ่อ ขยายเวลาห้ามขายสุราถึงวันที่ 30 เม.ย 2563จากการพิจารณาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และองค์ประกอบ ปัจจัยอื่นๆ พบว่าขณะนี้ในพื้นที่กรุงเทพฯ แม้ตัวเลขผู้ติดเชื้อลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่สามารถไว้วางใจได้ เพราะพื้นที่กรุงเทพฯ เป็นจุดศูนย์กลางการคมนาคม และเป็นแหล่งชุมชนขนาดใหญ่ มีผู้คนเดินทางเข้ามาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีมาตรการตรวจคัดกรองที่เข้มข้น แต่จากการตรวจคัดกรองก็ยังพบว่ามีผู้ติดเชื้ออยู่ แม้จะเป็นจำนวนที่น้อย แต่ไม่ควรประมาทโควิด 2019naydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโรคร้ายแรงที่ประกันสังคมไม่ครอบคลุม เป็นข้อมูลเก่าจริงหรอโรคมะเร็ง 10 ชนิดตามที่ปรากฏในข่าวสามารถใช้สิทธิประกันสังคมได้ และหากผู้ประกันตนเป็นโรคมะเร็งอื่นๆ ก็สามารถใช้สิทธิประกันสังคมได้เช่นเดียวกันโดยเข้ารับการรักษากับสถานพยาบาล ตามสิทธิประกันสังคมโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายnaydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: mostly-true--middle3 ความเห็น
- 1 คนสงสัยนอนคว่ำ ช่วยเพิ่มออกซิเจนให้ผู้ป่วยโควิดที่อาการหนักเว็บไซต์ของสถานีโทรทัศน์ซีเอ็นเอ็นรายงานว่า ปัจจุบันแพทย์ในสหรัฐฯและในบางประเทศ เริ่มหันมาใช้วิธีจัดท่าให้ผู้ป่วยโรคโควิด-19 นอนคว่ำหน้ากันมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคนไข้ที่เกิดกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน (ARDS) และต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าสู่ปอดให้สูงขึ้น ส่วนงานวิจัยล่าสุดของแพทย์จีน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์อเมริกันว่าด้วยระบบทางเดินหายใจและการดูแลผู้ป่วยวิกฤต (AJRCCM) ยืนยันเช่นเดียวกันว่า ผู้ป่วยหนักโรคโควิด-19 บางรายในโรงพยาบาลเมืองอู่ฮั่น ตอบสนองต่อท่านอนคว่ำและมีอาการดีขึ้นกว่าการรับความดันบวกเข้าปอดผ่านเครื่องช่วยหายใจเพียงอย่างเดียว แม้จะยังไม่มีผลวิจัยรับรองว่า การนอนคว่ำจะมีผลดีต่อผู้ป่วยโรคโควิด-19ที่มีอาการเล็กน้อยและปานกลางหรือไม่ แต่ขณะนี้เริ่มมีการศึกษาทดลองทางคลินิกในประเด็นดังกล่าวที่สถาบันบางแห่งแล้ว เช่นที่มหาวิทยาลัยรัช (Rush University) ของสหรัฐฯ ซึ่งนักวิจัยกำลังติดตามดูว่า การนอนคว่ำหน้าส่งผลดีต่อคนไข้กลุ่มใดบ้าง และควรจะต้องอยู่ในท่าดังกล่าวเป็นเวลานานเท่าใดกันแน่โควิด 2019anonymous• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยสว.โหวตนายกเกาะติด! ประชุมรัฐสภา พิจารณาโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี คนที่ 30 จับตา "พิธา" แคนดิเดตนายกรัฐมนตรี "ก้าวไกล" พา 7 พรรคร่วมรัฐบาลฝ่าด่าน ส.ว. วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2566 มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 1 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่ 1) โดยมีวาระสำคัญ คือ การพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 272 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร บุคคลที่ถูกเสนอชื่อต้องเป็นผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีพรรคการเมืองที่มีสมาชิกได้รับเลือกเป็น ส.ส.ไม่น้อยกว่า 25 คน และการลงคะแนนให้กระทำโดยเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ของทั้งสองสภาstd47875• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยใช้น้ำอัดลมเทใส่เนื้อหมูสด ทำให้หนอนหรือพยาธิออกจากเนื้อหมูใช้น้ำอัดลมเทใส่เนื้อหมูสด ทำให้หนอนหรือพยาธิออกจากเนื้อหมูทำให้เนื้อหมูไม่มีหนอนหรือพยาธิเลยthachadapiynuch• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเครืสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพ วัตถุอันตราย เครื่องสำอาง รวมถึงสินค้าและบริการที่ผิดกฎหมาย จำนวน 44 เรื่องstd48366• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยบัญชีและคิวอาร์โค้ดหากส่งสลิปโอนเงินที่มีข้อมูลคิวอาร์โคดให้ผู้อื่น จะถูกแฮ็กบัญชีstd48366• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยใบขับขี่เรื่อง กรมขนส่งรับทำใบขับขี่ผ่านไลน์ ทำก่อนจ่ายทีหลังstd48366• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยความเรียบร้อยของสังคมข่าวปลอมเรื่องนโยบายรัฐบาล ข่าวสารทางราชการ ความสงบเรียบร้อยของสังคม ขัดศีลธรรมอันดีและความมั่นคงภายในประเทศจำนวน 49 เรื่องstd48366• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยน้ำมะพร้าวเพิ่มขนาดหน้าอกได้จริงหรือ?น้ำมะพร้าวเพิ่มขนาดหน้าอกได้จริงหรือ? . แพทย์หญิงภัทราวดี ศิริประภานนท์กุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูติศาสตร์-นารีเวชศาสตร์ ตำแหน่งนายแพทย์ปฏิบัติการ โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ให้ข้อมูลว่า ในน้ำมะพร้าวมีฮอร์โมนเอสโตรเจนที่เรียกว่า ไฟโตเอสโตรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนจากพืช สามารถออกฤทธิ์กับเนื้อเยื่อที่ตอบสนองกับฮอร์โมนเอสโตรเจนในผู้หญิงได้ โดยเฉพาะเนื้อเยื่อไขมัน เนื้อเยื่อเต้านม และอวัยวะสืบพันธุ์ความสวยความงามยาสมุนไพรผู้บริโภคเฝ้าระวังstd48036• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยเผย 6 แนวโน้มข่าวลวงสุขภาพ ปี 2022! ระวังหยด "น้ำมันกัญชา" เอง เสี่ยงอันตรายข่าวลวงยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย โดยเฉพาะข่าวลวงด้านสุขภาพที่ส่งผลต่อร่างกาย รุนแรงได้ถึงชีวิต หากไม่รู้เท่าทัน! เมื่อวันที่ 23 ส.ค. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับภาคีโคแฟค (COFACT) ประเทศไทย จัดเวทีสัมมนาไฮบริด นักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 23 จากมะนาวโซดา ถึงกัญชารักษาWorsorkubpom• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสสส. ร่วมพันธมิตร เปิดตัว “โคแฟค” แอปพลิเคชั่นตรวจสอบข่าวลวง ขยายสู่ชุมชนเมื่อวันที่ 28 ส.ค.ที่ผ่านมา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ ธนาคารจิตอาสา มูลนิธิฟรีดิช เนามัน และภาคีเครือข่ายป้องกันและตรวจสอบข่าวลวง จัดงานเสวนานักคิดดิจิทัลครั้งที่ 11 เปิดตัวโคแฟค "ทำไมความจริงร่วมจึงสำคัญ" พร้อมปฐมนิเทศจิตอาสาพัฒนาทักษะด้านเท่าทันสื่อและสุขภาวะทางปัญญารุ่นแรก ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุน สสส. กล่าวว่า ประเทศไทยมีสถานการณ์การระบาดของข่าวลวง อาทิ การหลอกขายสินค้า ภัยพิบัติ สุขภาพ ซึ่งหากประชาชนไม่เท่าทันสื่อตกเป็นเหยื่อ หรือส่งต่อข่าวปลอมโดยไม่รู้ตัว แนวทางการแก้ปัญหาและหยุดยั้งการระบาดของข่าวลวงในยุคชีวิติวิถีใหม่ (New Normal) จึงจำเป็นที่จะต้องมีกลไกกลางที่เปิดพื้นที่ให้ทุกคนได้มาแสวงหาข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยจุดประกายด้วยนวัตกรรม โคแฟค (Collaborative Fact Checking : Cofact) บนเว็บไซต์ cofact.org และไลน์ @cofact พร้อมสานพลังขับเคลื่อนสังคมขยายผู้ใช้ไปยังภาคีเครือข่าย เกิดเป็น “ชุมชนโคแฟค” และสร้างค่านิยมใหม่โดยใช้พลังพลเมืองในการร่วมตรวจสอบข่าวลวง ที่ทุกคนสามารถเป็น fact cheker เกิดพื้นที่ในการแสวงหาข้อเท็จจริงประเด็นสุขภาวะร่วมกันstd47848• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมิจฉาชีพหลอกซื้อกองทุน “ตลาดหลักทรัพย์ฯ-ก.ล.ต.” คนแห่สนใจอันดับ 1ดีอีเอส พบโจรไซเบอร์แสบ! ปั่นข่าวปลอมสุดสัปดาห์ ล่าสุดประชาชนแห่ให้ความสนใจและหลงเชื่อ “ตลาดหลักทรัพย์ฯ กับ ก.ล.ต.” เปิดซื้อกองทุน เริ่มต้น 1,000 บาท ขึ้นแท่นอันดับ 1 ระวัง! ถูกหลอกให้ลงทุน อย่าหลงเชื่อ SMS เพจ เว็บไซต์ปลอม พร้อมย้ำเป็นข้อมูลเท็จstd46678• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยEXO ย่างหมากินหลังหอข่าวลือเรื่องEXOย่างหมากินหลังหอเกิดจากเหตุผลที่คริสต้องออกจาก EXO เพราะรับไม่ได้ที่เมมเบอร์ย่างหมากินหลังหอมีมล้อเลียน เสียดสีstd46403• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการเรื่อไร การขอรับบริจาค สามารถกระทำได้โดยตนเอง หรือต้องขออนุญาตจากจากหน่วยงานของรัฐ หากไม่ขออนุญาตมีความผิดตามกฏหมายหรือไม่?ตัวอย่างที่เด่นชัด คือ “การขอรับบริจาคมาเพื่อใช้ในการดำรงชีพของตัวเอง” เช่นนี้เข้าข่ายการขอทานซึ่งเป็นเรื่องผิด เพราะปัจจุบันมีพ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน 2559 ห้ามบุคคลใดทำการขอทาน อันหมายความถึงการขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อื่นเพื่อเลี้ยงชีพ ไม่ว่าจะเป็นการขอวิธีการใด อันทำให้เกิดความสงสารและส่งมอบเงินหรือทรัพย์สินให้ โดยมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับLoet Chaikham• 3 ปีที่แล้วmeter: true3 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อสุขภาพวัคซีนโควิดKhemmachart Jandum• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ