14113 ข้อความ
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://twitter.com/leahmcelrath/status/1427127075627053058?s=21ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัวmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยทำไมชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ของ Lepu ถึงมีปัญหา? ผมขออ้างอิงจากงานวิจัยในสเปน ที่ตีพิมพ์ใน Journal of Infection เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เขาเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 286 คน โดยใช้ Antigen Test Kit 5 ยี่ห้อ มาเทียบกับผล PCR โดยแบ่งเป็นคนที่มีผล PCR เป็นบวก 101 คน และเป็นลบ 185 คน เพื่อความกระชับ ผมขอเทียบแค่ 2 ยี่ห้อนะครับ คือ Abbott และ Lepu Abbott มีความไว (Sensitivity) 38.6% ความจำเพาะ (Specificity) 99.5% Lepu มีความไว 45.5% ความจำเพาะ 89.2% โดยความไว คือ ในบรรดาคนที่ผล PCR เป็นบวก พบคนที่ ATK ตรวจเจอหรือเป็นบวกกี่เปอร์เซนต์ และความจำเพาะคือ ในบรรดาที่ผล PCR เป็นลบ พบคนที่ ATK ผลเป็นลบกี่เปอร์เซนต์ สาเหตุที่นักวิจัยใช้ความไวและความจำเพาะในการรายงานผลการวิจัย เพราะว่า ค่าสองค่านี้ จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามความชุก (Prevalence) ของโรค ซึ่งบางประเทศอาจมีคนติดเยอะ บางประเทศอาจมีคนติดน้อย ถึงแม้จะติดเยอะติดน้อยอย่างไร ค่าความไวและความจำเพาะของชุดทดสอบจะไม่เปลี่ยนแปลงตาม สิ่งที่คนวางนโยบายต้องการหาจริงๆ คือ 1. ค่าทำนายเมื่อผลเป็นบวก (Positive Predictive Value; PPV) คือ ในบรรดาคนที่ผล ATK เป็นบวก พบผล PCR เป็นบวกกี่เปอร์เซนต์ 2. ค่าทำนายเมื่อผลเป็นลบ (Negative Predictive Value; NPV) คือ ในบรรดาคนที่ผล ATK เป็นลบ พบผล PCR เป็นลบกี่เปอร์เซนต์ ค่า PPV และ NPV จะเปลี่ยนแปลงไปตามความชุกของโรค เรามาลองเอาตัวเลขใกล้เคียงการตรวจแพทย์ชนบทในกรุงเทพฯ มาใช้ละกันครับ สมมติว่า จากการตรวจ 15,000 คน มีคนเป็นโรคจริง 10% ถ้าคำนวณจากความไวและความจำเพาะข้างต้น ได้ผลดังภาพนะครับ ในบรรดาคนที่ตรวจด้วย Abbott จะเจอผลบวก 646 คน ซึ่งเป็นคนที่ผล PCR+ 579 คน และผล PCR- 67 คน ซึ่งคิดเป็น PPV อยู่ที่ 89.6% กล่าวคือ พบผลบวกลวง (False Positive) ที่ตรวจว่าติด แต่แท้จริงแล้วไม่ติด ประมาณ 10% แต่ถ้าตรวจด้วย Lepu จะเจอผลบวก 2,141 คน ซึ่งเป็นคนที่ผล PCR+ 689 คน และผล PCR- 1,458 คน ซึ่งคิดเป็น PPV อยู่ที่ 31.9% กล่าวคือพบผลบวกลวง ที่ตรวจว่าติด แต่แท้จริงแล้วไม่ติดถึง 68% พูดง่ายๆ คือ ในบรรดาคนที่ Lepu เป็นบวก 10 คน ติดจริง 3 คน ติดไม่จริง 7 คน แต่ Abbott บวก 10 คน ติดจริง 9 คน ติดไม่จริง 1 คน แปลกใจไหม ที่ FDA ของอเมริกาและอีกหลายประเทศ เขาถอนการอนุมัติ Lepu แล้ว อย. และ อภ. ไทย คิดอะไรอยู่ครับ? ********************************************* ถ้ายังดื้อดึง จะใช้ Lepu มันจะเกิดอะไรขึ้นครับ 1. เชื่อไหม ตรวจเลขพบเชื้อในประเทศอาจจะลดลง สมมตินะครับ ประเทศไทยมีนโยบายว่า ก่อนตรวจ PCR ต้องตรวจ ATK ก่อน ถ้าผล ATK เป็นบวก ถึงตรวจ PCR ได้ แล้วประเทศไทยจำกัดการตรวจที่ 50,000 คนต่อวัน ถ้าใช้ Abbott ตามตัวเลขข้างบน เราจะเจอคนติดเชื้อ 44,814 คน แต่ถ้าเราใช้ Lepu เราจะเจอคนติดเชื้อเพียงแค่ 15,950 คนเท่านั้น 2. ถ้ามีนโยบายว่า ถ้าเจอผล ATK+ ให้ส่งเข้ารักษาเลย มอบชุดวัดออกซิเจน ยาต่างๆ สมมติว่าค่าใช้จ่ายหัวละ 2000 บาท การตรวจด้วย Lepu พบคนเป็น ATK+ มากกว่า Abbott 3.31 เท่า (2141/646) แสดงว่าเราต้องจ่ายมากขึ้น 3.31 เท่า ทั้งที่คนส่วนมากในนั้นเป็นผลบวกลวง ซึ่งไม่คุ้มค่ากับเงินที่ประหยัดได้จากการประมูลเลย 3. คนที่พบผลบวกลวง จะเสียโอกาสทางหน้าที่การงาน ต้องกักตัวเองอยู่บ้าน กว่าจะได้คิวตรวจ PCR กว่าจะรอผล PCR เสียโอกาสทางเศรษฐกิจมากขนาดไหน ไม่นับรวมความวิตกจริตของตนเอง และคนรอบข้าง รวมถึง คนรอบข้างก็ต้องแห่กันไปตรวจเพิ่ม ให้เสียทรัพยากรมากขึ้นไปอีก ********************************************* ผมเชื่อว่า อภ. และ อย. มีคนจบชีวสถิติ (Biostatistics) หรือระบาดวิทยา (Epidemiology) โดยตรง คนเก่งมากกว่าผมมีจำนวนเยอะมากๆ เรื่องที่ผมเขียนน่าจะไม่ใช่เรื่องใหม่ของพวกเขา แต่ถ้าเป็นเรื่องใหม่จริง และได้มีโอกาสอ่านโพสของผมแล้ว ช่วยพิจารณาใหม่เถอะครับ ไม่ใช่แค่ไม่สั่งซื้อ Lepu นะครับ ควรเอา Lepu ออกจากทะเบียน อย. ได้แล้วครับ PLEASE!!!!โควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัย(siren) ประกาศข่าวจากราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ (siren) ท่านใดเป็นนายจ้าง ที่มีลูกจ้าง "ต่างด้าว" และต้องการให้ลูกจ้างฉีดวัคซีนหลักของรัฐบาล อาจจะเป็น SNV หรือ ASTRA ซึ่งเราจะเลือกไม่ได้ แต่ "ฟรี" ไม่มีค่าใช้จ่าย (แต่ถ้าอยากบริจาคเพื่อบำรุงราชวิทยาลัยฯ ก็บริจาคแยกต่างหากได้ค่ะ) ขอให้รวบรวมรายชื่อและรายละเอียดให้ครบถ้วนตามไฟล์ excel แล้วส่งมาที่เมล์ nunuyuikus2885@gmail.com ลำดับการได้รับวัคซีน... จะเป็นไปตามคิว ปล. ท่านใดประสงค์ให้ลูกจ้างต่างด้าวได้รับวัคซีนชิโนฟาร์ม ต้องลงทะเบียนตามระบบจากหน้า webpage จนกว่าราชวิทยาลัยฯ จะประกาศเปลี่ยนแปลงเป็นอื่นค่ะ กรอกรายละเอียดใน excel แล้วส่งมาให้ทางเมล์ ที่แจ้ง ได้เลยนะคะ (คุณยุ้ย) หรือ กรอกแบบฟอร์ม ในลิ้งค์ https://docs.google.com/spreadsheets/d/1Ndc7Bo9VMHI9bJUP-iy-wAZQ25qT5I9-/edit?usp=sharing&ouid=115425985614154892345&rtpof=true&sd=true *** หมายเหตุ ถ้าเป็นกรณีลูกจ้างต่างด้าวที่มีนายจ้าง รบกวนขอชื่อ-สกุล เบอร์ของนายจ้างด้วยนะคะ *** และถ้ามีกรณีลูกจ้างต่างด้าวอนาถา คือ ตกงานถูกนายจ้างเลิกจ้าง หรือนายจ้างปิดกิจการ สามารถส่งมาได้เช่นกัน แต่ขอให้แยกไฟล์กับกรณีลูกจ้างต่างด้าวที่ยังคงมีนายจ้างปกติค่ะโควิด 2019วัคซีนโควิดไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://twitter.com/thaipbs/status/1426385590866612224?s=21ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยแอลกอฮอล์อย. เพิกถอนไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว3 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 2 คนสงสัยhttps://www.bloomberg.com/news/articles/2021-08-13/the-world-may-never-reach-herd-immunity-against-covid-19ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยแลบลิ้นป้องกันโรคสมองเสื่อมได้อ่านนะคะ ด้วยรัก และห่วงใยค่ะ อัลไซเมอร์จาก ดร.วิชัย เกียรติสามิภักดิ์ ยิ่ง อ่าน ยิ่งดี มี✔️✔️รู้ไว้มีประโยชน์✔️✔️ วันนี้คุณแลบลิ้นหรือยัง? ---------------- ฉันเข้าสู่วัยชราตอนปลายแล้ว(70-90) ถึงวัยนี้ตามธรรมชาติจะมีความเจ็บป่วยต่างๆ ฉันกังวลใจมากที่สุดก็คือการเป็นคนชราที่หลงลืม (อัลไซเมอร์) เพราะไม่เพียงไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เท่านั้น แต่ยังเป็นภาระให้คนในครอบครัวอีกด้วย วันหนึ่ง ลูกชายกลับมาจากข้างนอก เล่าให้ฟังว่า เพื่อนที่เป็นหมอบอกเขาเรื่อง การบริหารลิ้น หมอบอกว่าการบริหารลิ้นไม่เพียงแต่ป้องกันผู้สูงอายุเป็น อัลไซเมอร์เท่านั้น แต่ยังช่วยรักษาโรคอ้วน ความดันสูง หลอดเลือดสมอง หอบหืด ตาฝ้าฟาง หูอื้อ คออักเสบ ไหล่ติด นอนไม่หลับ ฯลฯได้อีกด้วย ลูกเล่าจากที่หมอบอกว่า ง่ายมาก ขอเพียงทุก ๆ วันในตอนเช้าตรู่ หลังล้างหน้าเสร็จ บริหารลิ้นหน้ากระจก ดังนี้ 1.แลบลิ้นออก แล้วหดกลับ 10 ครั้ง 2. แลบลิ้นออก ตวัดไปทางริมฝีปากซ้าย-ขวา สิ่งที่สำคัญ คือ ต้องทำทุกวัน และนี่ฉันก็ทำได้ ไม่ขาดสักวัน ทั้งปรับปรุงวิธีบริหารลิ้น ยืนหยัดทำไม่ขาดอยู่ปีเศษๆ ผลที่ได้รับคือ ไม่เพียงสมองโล่ง แต่อาการที่เคยเป็น เช่น ตาฝ้าฟาง มึนหัว กระเพาะไม่มีกำลัง น้ำมูกไหล เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด แขนขาก็รู้สึกยืดหยุ่นขึ้นมาก และเชื่อมั่นว่า การบริหารลิ้น มีผลในการป้องกันโรคอัลไซเมอร์จริง เพราะงานวิจัยของแพทย์แสดงผลอย่างชัดเจนว่า เส้นประสาทลิ้นเชื่อมต่อสัมพันธ์กับสมอง และสัญญาณแรกที่บ่งชี้ว่า เข้าสู่ภาวะชราภาพ คือ อาการลิ้นแข็ง ดังนั้น การบริหารลิ้นบ่อยๆ เป็นการกระตุ้นการทำงานของสมองทางอ้อม ป้องกันสมองฝ่อได้ .... ❤️ ส่งต่อให้คนที่เรารัก❤️สุขภาพลดความอ้วนMrs.Doubt• 4 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยปลอมไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว