1 คนสงสัย
ปลอม
ไม่ระบุชื่อ
 •  3 ปีที่แล้ว
1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
0 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)
Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้💬 มีความเห็นส่วนตัว

เหตุผล

สามารถเช็คข้อมูลข่าวเท็จจริงได้ที่ google,bing ครับ

ความเห็นต่าง

https://www.google.com/search?q=ค้นหาข่าวลวง
https://www.google.com/search?q=ข่าวลวง
https://www.antifakenewscenter.com/
https://www.thaipbs.or.th/search?q=ข่าวลวง
https://www.hfocus.org/topics/ข่าวลวง
https://www.hfocus.org/topics/ข่าวปลอม
https://www.thairath.co.th/tags/ข่าวลวง

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ
    ตามที่มีการแชร์ข้อมูลเรื่องทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีมีคลิปวิดีโอถูกเผยแพร่ในสื่อออนไลน์เกี่ยวกับทานไฟเบอร์ก่อนทานไข่และชีส ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ ทางสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ไฟเบอร์ หรือเส้นใยอาหาร (dietary fiber) คือ คาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายไม่สามารถย่อยสลาย หรือดูดซึมได้ แบ่งได้ 2 ประเภทคือ ชนิดที่ละลายน้ำได้และชนิดที่ไม่ละลายน้ำ มีประโยชน์ต่อร่างกายช่วยลดการดูดซึมน้ำตาล และคอเลสเตอรอลที่ลำไส้ พบมากในผัก ผลไม้ ถั่ว ซีเรียล ธัญพืชเช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวโพด
    chutikarn222549
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผลิตภัณฑ์ D.U.D
    ตามที่มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ D.U.D คืนความอ่อนเยาว์กลับไปได้ 20 ปี ใน 3 เดือน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีผลิตภัณฑ์ D.U.D ที่ใช้ข้อความโฆษณาแสดงสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ว่าสามารถคืนความอ่อนเยาว์กลับไปได้ 20 ปี ใน 3 เดือนนั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ดังกล่าวและชี้แจงว่า ผลิตภัณฑ์ D.U.D จดแจ้งเป็นเครื่องสำอาง สำหรับบำรุงผิว มีเลขที่ใบจดแจ้ง 12-1-6300050347 และจากการตรวจสอบเว็บไซต์ขายผลิตภัณฑ์ D.U.D ได้ระบุสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ว่า ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสามารถฟื้นฟู คืนความอ่อนเยาว์ให้แก่ผิวหน้า ลบริ้วรอยทันตาเห็น ลดอายุลงไปจากเดิม 20 ปี ใน 3 เดือน และกล่าวอ้างว่า เจ้าของผลิตภัณฑ์ดัง
    std47602
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ . ตามที่มีการโพสต์ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลบิดเบือน . กรณีการโพสต์ให้ข้อมูลโดยระบุว่าพบกรดเบนโซอิกในก๋วยเตี๋ยวประเภทต่างๆ โดยแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า จากที่มีการแชร์ข้อมูลผลตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเมื่อปี 2550 ซึ่งสำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในฐานะห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านการตรวจวิเคราะห์อาหารของประเทศ ได้มีการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังการใช้วัตถุกันเสีย (กรดเบนโซอิคและกรดซอร์บิค) ในอาหารประเภทเส้นมาอย่างต่อเนื่อง . นอกจากนี้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว ซึ่งการผลิตอาหารประเภทเส้น บางชนิดมีการใช้วัตถุกันเสีย เพื่อช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต หรือทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุให้อาหารเน่าเสีย หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะกรดเบนโซอิกทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และท้องเสีย แต่หากได้รับในปริมาณน้อยร่างกายสามารถขับออกไปได้ ซึ่งข้อมูลของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตรและองค์การอนามัยโลกแห่งสหประชาชาติ (The joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives, JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (ADI) พบว่า มีความเป็นพิษต่อคนและสัตว์น้อย . อย่างไรก็ตามวัตถุกันเสียทั้งสองชนิดมีข้อกำหนดการใช้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 418) พ.ศ.2563 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2) สำหรับกรดเบนโซอิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในอาหารประเภทเส้นที่ผ่านกระบวนการต้ม การนึ่ง การปรุงให้สุกการพรีเจลาทิไนซ์ (Pre-gelatinized) หรือแช่เยือกแข็ง และเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป ส่วนกรดซอร์บิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉพาะอาหารประเภทเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป . เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังคงเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นที่ทำจากแป้งอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งพัฒนาผู้ผลิตให้มีความรู้ความเข้าใจการใช้วัตถุกันเสียอย่างถูกต้อง ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ อย.กำหนด ซึ่งผู้ผลิตจะต้องควบคุมกระบวนการผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP สำหรับผู้บริโภคควรเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ปรุงสุก สดใหม่ สะอาด ถูกสุขอนามัย และไม่ควรรับประทานอาหารซ้ำๆ กันเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ . ดังนั้นข้อมูลที่มีการโพสต์ และแชร์ต่อในขณะนี้ จึงเป็นข้อมูลบิดเบือน ขอความร่วมมือประชาชน ไม่แชร์ ไม่ส่งต่อข่าวดังกล่าว เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www3.dmsc.moph.go.th หรือโทร. 02 9510000 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลที่มีการบอกต่อดังกล่าวเป็นข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์เมื่อปี 2550 แต่ปัจจุบันกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ประเภทเส้นที่ทำจากแป้งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . Website : https://www.antifakenewscenter.com/
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คลอรีนผงผสมน้ำเพื่ออาบ ทำให้ผิวขาว
    ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องคลอรีนผงผสมน้ำเพื่ออาบ ทำให้ผิวขาว ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ คลอรีนเป็นสารกัดกร่อน จัดเป็นวัตถุอันตรายใช้สำหรับฆ่าเชื้อโรค ไม่เหมาะกับร่างกายของมนุษย์ อีกทั้งจัดเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง หากสัมผัสผิวหนังในปริมาณมากจะทำให้ผิวหนังไหม้รุนแรง ระคายเคืองดวงตาและระบบทางเดินหายใจ แนะใช้ตรงตามวัตถุประสงค์และปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลาก เพื่อความปลอดภัย
    std47931
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    รัฐทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี 5,000 บาท ในเดือนนี้
    โฆษกรัฐบาล เตือน อย่าหลงเชื่อข่าวปลอม หลังข้อความว่อนโซเชียล “รัฐฯ ทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี 5,000 บาท ภายในเดือน มิ.ย.นี้” วอนหยุดแชร์ ป้องกันความสับสนและเข้าใจผิดขยายวงกว้าง วันที่ 8 มิถุนายน 2566 นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงกรณีที่มีการแชร์และส่งต่อข้อมูล “รัฐฯ ทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี จำนวน 5,000 บาท ภายในเดือนมิถุนายนนี้” ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ซึ่งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย (Anti-Fake News Center Thailand : AFNC) ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้ออกมาชี้แจงข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลเท็จ
    std46298
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำตอนเล่นมือถือ
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ ห้ามดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์โดยใช้สายไปด้วย เพราะกระแสไฟจะวิ่งเข้าหัวใจและเสียชีวิต . ตามที่มีข้อมูลแนะนำเกี่ยวกับเรื่องห้ามดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์โดยใช้สายไปด้วย เพราะกระแสไฟจะวิ่งเข้าหัวใจและเสียชีวิต ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ . จากที่มีผู้ส่งต่อข้อมูลว่า ห้ามดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์โดยใช้สายไปด้วย เพราะกระแสไฟจะวิ่งเข้าหัวใจและเสียชีวิต ทางศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า คลิปที่มีการเผยแพร่ต่อ ๆ กันดังกล่าว เป็นเพียงการแสดงเท่านั้น เพราะหากถูกไฟดูดจริง จะต้องมีการสะบัดมือที่จับโทรศัพท์ หรือร่างกายต้องกระตุกจากการโดนไฟช็อต รวมทั้งกระแสไฟจะต้องครบวงจรก่อน ซึ่งไม่ต้องรอถึงขั้นดื่มน้ำก็สามารถที่จะโดนไฟดูดได้แล้ว . ทั้งนี้ การเสียชีวิตโดยที่มีกระแสไฟวิ่งเข้าหัวใจหลังจากดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์นั้น ไม่เกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด ซึ่งการเสียชีวิตดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับวัสดุที่มีแรงดันไฟฟ้ามาอยู่ใกล้กับอวัยวะในร่างกายที่ค่อนข้างบอบบาง เช่น หู แก้ม เป็นต้น . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่งหรือแชร์ข้อมูลต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.nectec.or.th/ หรือ โทร. 02-564-6900 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : การเสียชีวิตโดยที่มีกระแสไฟวิ่งเข้าหัวใจหลังจากดื่มน้ำขณะชาร์จโทรศัพท์นั้น ไม่เกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด ซึ่งการเสียชีวิตดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับวัสดุที่มีแรงดันไฟฟ้ามาอยู่ใกล้กับอวัยวะในร่างกายที่ค่อนข้างบอบบาง เช่น หู แก้ม เป็นต้น . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
    std48339
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ มีการตรวจพบเนื้อหมูปลอมเป็นเนื้อวัวระบาดหนักในพื้นที่กรุงเทพและจังหวัดใกล้เคียง
    คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยและศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แถลงข่าว ตรวจพบเนื้อหมูปลอมเป็นเนื้อวัว ระบาดในพื้นที่กรุงเทพ จ.ปทุมธานี จ.สมุทรปราการ และ จ.ฉะเชิงเทรา
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ระวังพายุ2ลูกเตือนฝนตกหนักช่วง17-25ก.ค.นี้
    ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเรื่องระวังพายุ 2 ลูก เตือนฝนตกหนัก ช่วงวันที่ 17-25 ก.ค. นี้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยกรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
    std47080
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! กฟน. จัดโครงการไฟฟ้า ล้างแอร์ช่วยชาติ
    จากการส่งต่อข่าวสารประชาสัมพันธ์ว่า กฟน. จัดโครงการไฟฟ้า ล้างแอร์ช่วยชาติ และให้บริการรับชำระค่าไฟฟ้า หรือแจ้งเอกสารเตือนตัดไฟฟ้า ทางการไฟฟ้านครหลวง กระทรวงมหาดไทย ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า ขณะนี้ยังไม่มีการเปิดรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการล้างแอร์ลดโลกร้อน รวมถึงไม่มีตัวแทนให้บริการล้างเครื่องปรับอากาศหรือให้พนักงานรับชำระค่าไฟฟ้า เก็บเงินค่าเปลี่ยนเครื่องวัดค่าไฟ ทั้งยังไปดำเนินการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าเก็บค่าบริการนอกสถานที่แต่อย่างใด ยกเว้นกรณีที่ กฟน. จัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์กับชุมชน หรือโครงการต่าง ๆ ซึ่งจะมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทราบผ่านช่องทางสื่อสารทางการของ กฟน. หรือสื่อมวลชนทราบก่อนทุกครั้ง ระวังการแอบอ้างว่าเป็นบริษัทที่ได้รับการว่าจ้างจากการไฟฟ้าต่าง ๆ หรือการแอบอ้างว่าเป็นพนักงานของ กฟน. การแสดงบัตรพนักงานปลอม
    yossakornkodphat
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม: ร่างระเบียบสำนักนายกฯ ปราบเฟคนิวส์ ความพยายามล่าสุดของรัฐบาลในการกลบเสียงวิจารณ์ ?
    ร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหาการเผยแพร่ ข้อมูลเท็จทางสื่อสังคมออนไลน์ที่ผ่านความเห็นขอบของคณะรัฐมนตรี (ครม.) ไปเมื่อวันที่ 1 ก.พ. กำลังสร้างความกังวลให้แก่นักวิชาการจำนวนหนึ่งที่มองว่าระเบียบนี้เป็นความพยายามครั้งล่าสุดของรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในการปิดกั้นข้อมูลและความคิดเห็นที่เป็นลบต่อรัฐบาล การที่ ครม. เห็นชอบร่างระเบียบสำนักนายกฯ ฉบับนี้ในช่วงที่การเมืองไทยเริ่มเข้าสู่ "ฤดูกาลเลือกตั้ง" ยิ่งทำให้เกิดข้อกังขาว่า "ศูนย์ประสานงานการป้องกันปราบปรามและแก้ไขปัญหาการเผยแพร่ข้อมูลเท็จทางสื่อสังคมออนไลน์" หรืออาจเรียกง่าย ๆ ว่าศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมที่จะจัดตั้งขึ้นในทุกกระทรวงและทุกจังหวัดตามร่างระเบียบนี้ มีวาระซ่อนเร้นในการกลบเสียงวิจารณ์และเป็นฝ่าย "พีอาร์อำพราง" ของรัฐบาลหรือไม่
    gam.muensri
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false