1 คนสงสัย
กรุ๊ปเลือดA เสี่ยงติดโควิด19
Poonato head
 •  5 ปีที่แล้ว
meter: true
1 ความเห็น

โควิด 2019

Patchaya Khamkaew เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

การตรวจเลือดของผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโควิด-19
จำนวนกว่า 2,000 คนในเมืองอู่ฮั่น และเสิ่นเจิ้น ของจีน
เมื่อนำมาเปรียบเทีย

ที่มา

https://www.thairath.co.th/news/foreign/1799051

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ พบเชื้อโควิด บนอุปกรณ์ฟิตเนส สถานที่กักตัวของชาวฝรั่งเศส
    ผลสอบสวนโรคชาวฝรั่งเศสติด COVID-19 ในไทย ผลตรวจเลือดไม่พบภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ ส่วนผู้สัมผัสใกล้ชิด-พนักงานสถานที่กักกันโรค ไม่พบเชื้อ แต่!! พบเชื้อ COVID-19 ที่พื้นผิวอุปกรณ์ออกกำลังกายภายในห้องฟิตเนส จำนวน 1 ตัวอย่าง จึงมีความเสี่ยงจากการที่ผู้ถูกกักกันไม่ครบ 14 วันออกมาแพร่เชื้อในห้องฟิตเนส และพื้นที่ส่วนกลางบางจุด
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    แก้ความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ covid vaccine
    อันนี้แชร์มาจากในห้องไลน์ศิริราช เชื่อถือได้สูงนะครับ เพิ่งจบLive webinar "Demystifying covid vaccine' แก้ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับcovid vaccineโดยProf.John McConnell, Editor-in-Chief of The Lancet Infectious Diseases บรรณาธิการวารสารLancet ที่ปัจจุบันเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการเรื่องcovid ที่น่าเชื่อถือที่สุด ขอสรุปให้เราฟังสั้นๆที่เกี่ยวกับ vaccine ในส่วนที่เกี่ยวกับเมืองไทย 1.vaccine ทุกชนิดมีผลดีคุ้มค่ามากกว่าภาวะแทรกซ้อนที่ต้องมีบ้างเป็นปกติ 2 ยังไม่สามารถเปรียบเทียบได้ว่าvaccine ชนิดไหนได้ผลดีหรือปลอดภัยมากกว่ากัน เพราะผลการทดลองphase 3 ของแต่ละบริษัททำในกลุ่มประชากรที่ต่างกันสิ่งแวดล้อมก็ต่างกัน 3.หลังฉีดcovid vaccineทุกชนิด ป้องกันการติดเชื้อไม่ได้ทั้งหมด แต่ สามารถลดอาการรุนแรงและอัตราการตายได้แน่นอน(>80-90%) 4.Astrazenica มีผลการทดลองยืนยันแล้ว่าภาวะแทรกซ้อนด้านลิ่มเลือดน้อยมากเทียบกับปริมาณที่ฉีดและอาจมีปัจจัยอื่นร่วมด้วยไม่ใช่จากvaccine อย่างเดียว ความคุ้มค่าในการฉีดมากกว่าความเสี่ยงจากcovid โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคนที่อายุเกิน30 ปีขึ้นไป 5. Chinese vaccine (Sinovax or Sinopharm)ได้ผ่านการพิสูจน์ในปะเทศชิลี แล้วว่าได้ผลดี ในการป้องกันโรค และลดอัตราตายได้ดีแม้ในกลุ่มสายพันธํBrazil ที่เรากังวลว่าvaccineจะไม่ได้ผล สรุป ถ้าได้โอกาสฉีดvaccine ที่รัฐบาลจัดหามาให้เมื่อใดควรฉีดได้เลยไม่ต้องกังวลตาม social / fake news ทั้งหลายนอกจากเพื่อความปลอดภัยตนเอง และครอบครัวแล้ว ยังเป็นการช่วยสังคมและประเทศชาติในการลดการติดเชื้อด้วย #covid vaccine#ฉีดวัคซีนโควิด
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ควรกินอาหารตามกรุ๊ปเลือด
    admin
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การมีเพศสัมพันธ์จะเสี่ยงติดโควิด 19 หรือไม่?
    จากการระบาดของไวรัสโคโรนาทำให้หลายคนสงสัยหรือมีความกังวลว่าการมีเพศสัมพันธ์จะเสี่ยงติดโควิด 19 หรือไม่? ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญด้านไวรัสวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกาศผ่านเฟสบุค ตอบคำถามเรื่องนี้ว่า โรคโควิด-19 รับรอง ถ้ามีสัมพันธ์ อยู่ก่างกัน 2 เมตร ไม่ติดต่อแน่นอน
    naruemonjoy
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สาธารณสุขเชิญชวน ปชช. กลุ่มเสี่ยง ตรวจคัดกรอง ไวรัสตับอักเสบ บี และซี ฟรีทั่วประเทศ จริงหรือ
    กระทรวงสาธารณสุข และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ร่วมคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบ บี และซี ให้กับประชาชนฟรี! ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ - กลุ่มพนักงานเก็บขยะ - กลุ่มผู้ที่เคยได้รับเลือดหรือรับบริจาคอวัยวะ - กลุ่มเสี่ยงตามสิทธิหลักประกันสุขภาพ คือ กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี - กลุ่มผู้ที่มีประวัติใช้สารเสพติดด้วยวิธีฉีด เชิญชวนให้ประชาชนทั่วไป เป้าหมาย 50,000 คน เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบ บี และซี "ฟรี" ด้วยชุดตรวจที่สะดวกรวดเร็ว รู้ผลภายใน 30 นาที ระหว่างวันที่ 10 ส.ค. - 31 ธ.ค. 63 ณ โรงพยาบาลประจำจังหวัดที่เข้าร่วมโครงการฯ ใน 77 จังหวัดทั่วประเทศ โดยมีบริการให้คำปรึกษา ตรวจคัดกรอง ส่งต่อ เพื่อเข้าสู่ระบบการรักษา จริงหรือ
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    ข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง
    กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
    std46748
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เอาผู้ติดเชื้อโควิด19 ไปอยู่ด้วยกันในรพ.สนาม จะแลกเปลี่ยนเชื้อกันไปมาหรือไม่
    Covid#102 เอาผู้ติดเชื้อโควิด19 ไปอยู่ด้วยกันในรพ.สนาม จะแลกเปลี่ยนเชื้อกันไปมาหรือไม่ คำตอบสั้นๆ คือ ไม่ครับ คำตอบยาวๆ คือ ถ้าเรากำลังติดเชื้อไวรัสตัวหนึ่งแล้ว จะเกิดปรากฏการณ์เรียกว่า viral interference คือ ร่างกายจะต้านทานไม่ให้ไวรัสตัวที่สองเข้าสู่เซลล์ได้ ทั้งนี้เกิดจากการที่ร่างกายสร้างสารที่เรียกว่า interferon ซึ่งทำงานอย่างไม่จำเพาะหมายความว่า ถึงเป็นไวรัสคนละชนิดก็ต้านทานได้ Viral interference มักจะเกิดอย่างรวดเร็ว แต่อยู่ไม่นานเกินเดือน คือพอทิ้งช่วงห่างออกไป เราก็ติดเชื้อใหม่ได้อีก นั่นเป็นเหตุที่ตารางการฉีดวัคซีนส่วนมาก จะเว้นเวลาระหว่างเข็มแรกและเข็มที่สองไว้สักเดือน เพื่อให้ interference จากเข็มแรกหมดไปก่อน Viral interference จะเกิดได้ต้องมีช่วงห่างระหว่างเวลาที่เจอเชื้อไวรัสสองตัว หากเชื้อสองชนิดเข้ามาพร้อมกันก็อาจติดได้ทั้งคู่ ดังนั้นเราจึงฉีดวัคซีนหลายชนิดได้พร้อมกัน แต่ควรฉีดวันเดียวกัน หากทิ้งช่วงห่างแล้วควรรอไปสักเดือนเลย เพื่อให้ viral interference หมดไปก่อน แม้กระนั้น หากฉีดวัคซีนเชื้อเป็นหลายชนิดพร้อมกัน เชื้อตัวที่เจ้าสู่เซลล์ได้ก่อน ก็อาจก่อกวนไม่ให้ตัวที่เข้าช้าเข้าไม่ได้อยู่ดี เช่น วัคซีนโปลิโอ เราให้เชื้อพร้อมกันสามชนิดในหลอดเดียว โดยทั่วไปจะเกิดภูมิต้านทานสำหรับเชื้อเพียง 1-2 ชนิดในการให้แต่ละครั้ง เราจึงนิยมให้สามครั้งในเด็กเล็ก การพัฒนาวัคซีนไข้เลือดออกก็ยุ่งยากมาก เพราะมีเชื้อถึงสี่ชนิดที่ต้องให้ได้ผลพร้อมกัน กลับมาที่รพ.สนาม คนไข้ทุกคนติดเขื้อโควิด19แล้ว หากมีเชื้อโควิด 19 อีกตัว พยายามจะเข้าก็จะเจอ viral interference เข้าไม่ได้ เมื่อเชื้อหายไปก็เป็นเพราะมีภูมิคุ้มกันแล้ว ก็ไม่ติดอีก ไม่ต้องห่วงครับ
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คนที่ติดโควิดแต่รักษาหายแล้ว ยังเป็นซ้ำได้อีก จริงหรือไหมคะ
    เห็นข่าวว่าสาธารณสุขจังหวัดเชียงรายพบผู้ป่วยชายที่ติดโควิด19 รักษาหายแล้ว แต่กลับมามีไข้อีกครั้งหลังกลับไปอยู่ที่บ้านค่ะ น่ากลัวจัง
    nutyty_MJU
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    หมอจุฬาฯ เตือน ดื่มน้ำเมา ลดประสิทธิภาพวัคซีนโควิด เสี่ยง เม็ดเลือดขาวทำงานผิดปกติ หมอจุฬาฯ เตือน ดื่มน้ำเมา ลดประสิทธิภาพวัคซีนโควิด-19 เสี่ยง เม็ดเลือดขาวทำงานผิดปกติ ไม่กำจัดเชื้อโรค ติดเชื้อง่าย ปอดอักเสบรุนแรง ห่วงฉีดวัคซีนโควิดให้กลุ่มคนติดสุรา แนะ หยุดดื่ม 2-3 วัน
    ไม่ระบุชื่อ
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    มีข่าวรายงานมาว่า พนักงานหญิงของรง.ไทยยาง ซ.วัดชม ติดเชี้อโควิด19 และได้เสียชีวิตแล้ว ที่รพ.ราษฎร์บูรณะส่วนสามีของนางทำงานอยู่ที่รง.ไทยเบนกัล ซ.สุขสวัสดิ์70 ก็ติดเชื้อโควิดด้วย ขณะนี้รักษาอยู่นะ.บางปะกอก3 ทั้ง2คน ได้พักอาศัยอยู่หลัง บิกซีมินิ ตรงข้ามม.วิเศษสุข เข้าซ.ปั้มปตท. พื้นที่โซนนี้จะเป็นกลุ่มเสี่ยง และม.3 บางครุ มีผู้ที่ได้สัมผัสกับกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ด้วย ได้เช่าบ้าน ในม.3บางครุ(ขณะนี้กำลังสืบอยู่ว่าเช่าบ้านอยู่ซอยไหน) ขอให้ทุกท่านดูแลสุขภาพป้องกันเชึ้อโควิด19 ด้วย ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซีสุขสวัสดิ์มีพนักงานติดโควิด 1 ร้านโดโซ๊ะ 2 ร้าน s&p 3 ร้านทอง โมเดิร์นโกลด์ 4 pc เสี่ยวมี ของTG ในห้างบิ๊กซี 5 พนักงานของบิ๊กซี 6 บาน่านา 7 ไทพานิช สถานีตำรวจโรงพักพระประแดง ติดโควิด 15 นาย
    ไม่ระบุชื่อ
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false