2210 ข้อความ
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำพบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้std48185• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลเสียของกัญชาผลเสียของกัญชาอัดแท่งstd47849• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิตามที่มีการแนะนำในประเด็นเรื่อง ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd47941• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำผลิตภัณฑ์ดังกล่าว พบสารประกอบของปรอท (Mercury compound) ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบstd47756• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมเขมรครีมเขมรความสวยความงามภาคใต้ผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47604• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยก.ล.ต. เปิดลงทุนหุ้น เริ่มต้น 1,000 บาท ผ่านเพจเฟซบุ๊กเรื่อง ก.ล.ต. เปิดลงทุนหุ้น เริ่มต้น 1,000 บาท ผ่านเพจเฟซบุ๊ก ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พบว่าข้อมูลดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีโฆษณาเชิญชวนว่า ก.ล.ต. เปิดให้ลงทุนหุ้น ราคาเริ่มต้น 1,000 บาท ผ่านเพจ Little Muppet 70313272 ทางสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เป็นการให้ข้อมูลชักชวนลงทุน โดยแอบอ้างโลโก้ ก.ล.ต. โดยไม่ได้รับอนุญาต ทาง ก.ล.ต. ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเพจดังกล่าวแต่อย่างใด ก่อนตัดสินใจลงทุน สามารถตรวจสอบว่า ผู้ที่ชักชวน/ผู้ให้บริการว่า ได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. หรือไม่ โดยตรวจสอบที่ www.sec.or.th/checkfirst หรือ ติดตั้งแอปพลิเคชัน SEC Check First เพื่อตรวจสอบข้อมูลได้anuchit631710• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยอวสานครีมตลาดนัด บุกโรงงานเถื่อนผลิตเครื่องประทินผิว กวนเองเป็นกะละมังโปรดดูครีมบำรุงผิวในมือท่าน! สาธารณสุขสงขลา บุกบ้านพักใน อ.หาดใหญ่ ตกตะลึงพบ คนในบ้านกวนครีมกะละมังขายกันเป็นล่ำเป็นสัน หนุ่มวัย 27 เจ้าของโรงงานผลิต เผย เดือนหนึ่งรายได้กว่า 1 ล้านความสวยความงามผู้บริโภคเฝ้าระวังvaritsara9914• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำจากกรณีที่มีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่มีข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd48395• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไวท์โรส พลาเซนต้าครีมทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบstd48380• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อวัคซีนโควิดstd46748• 2 ปีที่แล้ว4 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำจากกรณีที่มีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดstd47985• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโรงพยาบาลสงฆ์ กำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นวันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เพจเฟสบุ๊ค "โรงพยาบาลสงฆ์ PriestHospital" ขอประชาสัมพันธ์ จากกรณีที่มีข้อความ โพสและส่งต่อแชร์ข้อความตามสื่อออนไลน์ต่างๆ ขอรับบริจาคของโรงพยาบาลสงฆ์ ว่ากำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นโรงพยาบาลสงฆ์ ขอชี้แจงถึงประเด็นนี้ว่า ปัจจุบันโรงพยาบาลสงฆ์ ไม่ได้ขาดแคลนสิ่งของตามที่ต้นทางระบุ เนื่องจากยังมีข่าวปลอมเรื่อง รพ.สงฆ์ ขาดแคลน เครื่องอุปโภคบริโภคสำหรับพระอาพาธออกมาอยู่อย่างต่อเนื่องขอได้โปรด อย่าหลงเชื่อและติดตามข้อมูลสิ่งที่ควรบริจาคและเว้นการบริจาคให้ website ของ รพ.สงฆ์เองเท่านั้นstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยภูมิเเพ้ผลไม้มีจริงเหรอมีโรคภูมิเเพ้ผลไม้อยู่จริงเหรอstd47683• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมหน้าขาวภายใน7วัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำ ขาวภายใน7วันความสวยความงามภาคใต้std47904• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงเนื่องจากพบเว็บไซต์ที่บอกว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสต้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงใครที่ฉีดวัคซีนแอสต้า ให้เฝ้าระวังตนเอง เพราะ มีความเสี่ยงที่ตะเป็นโรคฝีดาษลิงstd46766• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทาstd48924• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอstd46538• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยคลิป TIKTOK ถูกนำไปอ้างเท็จว่าเป็น “แม่น้องหยก”คลิปวิดีโอของบัญชีผู้ใช้ TikTok ที่ชื่อว่า “มนุษย์แม่สะดวกแบบนี้” ถูกนำไปเผยแพร่ต่อโดยให้ข้อมูลเท็จว่าเป็นแม่ของ “หยก” เยาวชนหญิงวัย 15 ปี ผู้ต้องหาคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งล่าสุดได้ออกมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในการแต่งกายของนักเรียน วันที่ 14 มิ.ย. 2566 เจ้าของบัญชี TikTok “มนุษย์แม่สะดวกแบบนี้” โพสต์คลิปวิดีโอความยาว 4.45 นาที วิจารณ์กรณีของ “หยก” โดยให้ความเห็นว่า เหตุที่หยกมีความคิดและออกมาเคลื่อนไหวเช่นนี้เป็นเพราะผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัวstd48204• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอทstd49573• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำมีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีมพี่รหัสน้อง มายจุ้บจุ้บอุ้อิ้หุหิ้• 2 ปีที่แล้ว
- 3 คนสงสัยคลิป TIKTOK ถูกนำไปอ้างเท็จว่าเป็น “แม่น้องหยก”วันที่ 14 มิ.ย. 2566 เจ้าของบัญชี TikTok “มนุษย์แม่สะดวกแบบนี้” โพสต์คลิปวิดีโอความยาว 4.45 นาที วิจารณ์กรณีของ “หยก” โดยให้ความเห็นว่า เหตุที่หยกมีความคิดและออกมาเคลื่อนไหวเช่นนี้เป็นเพราะผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัว หลังจากนั้น คลิปของเธอถูกนำไปเผยแพร่ต่อในโซเชียลมีเดีย โดยให้ข้อมูลเท็จว่าผู้หญิงในคลิปเป็นแม่ของหยก เช่นแทรกข้อความในคลิปว่า “แม่หยกเตือนผู้ใหญ่ข้างตัวหยุด” และ “แม่เชื่อ ติ่งส้มสุดโต่ง (กลุ่มทะลุวัง) ปั่นหัวน้องจนกลายเป็นภาระสังคม” ซึ่งเป็นคำพูดที่ไม่มีอยู่ในคลิปต้นฉบับ ขณะที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กคนหนึ่งนำคลิปนี้ไปเผยแพร่ต่อโดยระบุว่าเป็น “ความในใจแม่น้องหยก”กรชื่อนี้เสียไม่ได้• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จโควิด 2019std47896• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย.เตือนผู้บริโภคอย่าหลงเชื่อเพจเฟซบุ๊กโฆษณาหลอกขายยาสีฟันผลิตภัณฑ์ ลิควิด ทูธเพสท์ (LIQUID TOOTHPASTE) ชื่อการค้า โอเค เคลียร์ (OK CLEAR) เลขที่ใบรับจดแจ้ง 40-1-6300038347 อวดอ้างรักษาฟันผุ ฟันโยก คลอน เห็นผลใน 2 นาทีพบอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง รักษาฟันผุ เหงือกอักเสบ ปวดฟัน ฟันโยก เสี่ยงได้รับอันตรายในช่องปากการโฆษณาดังกล่าวเป็นการโฆษณาเกินความเป็นจริง ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดต่อผู้บริโภค เนื่องจากยาสีฟันเป็นเพียงผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้กับฟันและเยื่อบุในช่องปาก เพื่อทำความสะอาดเท่านั้น ดังนั้นการอวดอ้างว่าสามารถแก้ปัญหาร้อนใน รักษาฟันผุ เหงือกอักเสบ ปวดฟัน ฟันโยก จึงเป็นข้อความที่เป็นเท็จ โอ้อวดเกินจริงและทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอางอย.แนะนำผู้บริโภคควรแปรงฟันให้ถูกวิธีอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ใช้ไหมขัดฟันช่วยทำความสะอาดซอกฟัน เลือกใช้ยาสีฟันผสมสารฟลูออไรด์ เพราะจะสามารถช่วยป้องกันฟันผุได้ และควรไปพบทันตแพทย์ตามนัด หรือทุก 6 เดือน เพื่อสุขภาวะที่ดีของช่องปากและฟัน หากผู้บริโภคที่มีอาการผิดปกติทางช่องปากและฟัน ควรรีบไปพบทันตแพทย์ อย่าหลงเชื่อซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมาใช้อย. เพิกถอนผู้บริโภคเฝ้าระวังstd46588• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ