2210 ข้อความ
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อสุขภาพวัคซีนโควิดKhemmachart Jandum• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำพบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้std48185• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลเสียของกัญชาผลเสียของกัญชาอัดแท่งstd47849• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิตามที่มีการแนะนำในประเด็นเรื่อง ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd47941• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำผลิตภัณฑ์ดังกล่าว พบสารประกอบของปรอท (Mercury compound) ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบstd47756• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมเขมรครีมเขมรความสวยความงามภาคใต้ผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47604• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยก.ล.ต. เปิดลงทุนหุ้น เริ่มต้น 1,000 บาท ผ่านเพจเฟซบุ๊กเรื่อง ก.ล.ต. เปิดลงทุนหุ้น เริ่มต้น 1,000 บาท ผ่านเพจเฟซบุ๊ก ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พบว่าข้อมูลดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีโฆษณาเชิญชวนว่า ก.ล.ต. เปิดให้ลงทุนหุ้น ราคาเริ่มต้น 1,000 บาท ผ่านเพจ Little Muppet 70313272 ทางสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เป็นการให้ข้อมูลชักชวนลงทุน โดยแอบอ้างโลโก้ ก.ล.ต. โดยไม่ได้รับอนุญาต ทาง ก.ล.ต. ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเพจดังกล่าวแต่อย่างใด ก่อนตัดสินใจลงทุน สามารถตรวจสอบว่า ผู้ที่ชักชวน/ผู้ให้บริการว่า ได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. หรือไม่ โดยตรวจสอบที่ www.sec.or.th/checkfirst หรือ ติดตั้งแอปพลิเคชัน SEC Check First เพื่อตรวจสอบข้อมูลได้anuchit631710• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยอวสานครีมตลาดนัด บุกโรงงานเถื่อนผลิตเครื่องประทินผิว กวนเองเป็นกะละมังโปรดดูครีมบำรุงผิวในมือท่าน! สาธารณสุขสงขลา บุกบ้านพักใน อ.หาดใหญ่ ตกตะลึงพบ คนในบ้านกวนครีมกะละมังขายกันเป็นล่ำเป็นสัน หนุ่มวัย 27 เจ้าของโรงงานผลิต เผย เดือนหนึ่งรายได้กว่า 1 ล้านความสวยความงามผู้บริโภคเฝ้าระวังvaritsara9914• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำจากกรณีที่มีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่มีข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd48395• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไวท์โรส พลาเซนต้าครีมทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบstd48380• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อวัคซีนโควิดstd46748• 2 ปีที่แล้ว4 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำจากกรณีที่มีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดstd47985• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโรงพยาบาลสงฆ์ กำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นวันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เพจเฟสบุ๊ค "โรงพยาบาลสงฆ์ PriestHospital" ขอประชาสัมพันธ์ จากกรณีที่มีข้อความ โพสและส่งต่อแชร์ข้อความตามสื่อออนไลน์ต่างๆ ขอรับบริจาคของโรงพยาบาลสงฆ์ ว่ากำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นโรงพยาบาลสงฆ์ ขอชี้แจงถึงประเด็นนี้ว่า ปัจจุบันโรงพยาบาลสงฆ์ ไม่ได้ขาดแคลนสิ่งของตามที่ต้นทางระบุ เนื่องจากยังมีข่าวปลอมเรื่อง รพ.สงฆ์ ขาดแคลน เครื่องอุปโภคบริโภคสำหรับพระอาพาธออกมาอยู่อย่างต่อเนื่องขอได้โปรด อย่าหลงเชื่อและติดตามข้อมูลสิ่งที่ควรบริจาคและเว้นการบริจาคให้ website ของ รพ.สงฆ์เองเท่านั้นstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยภูมิเเพ้ผลไม้มีจริงเหรอมีโรคภูมิเเพ้ผลไม้อยู่จริงเหรอstd47683• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมหน้าขาวภายใน7วัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำ ขาวภายใน7วันความสวยความงามภาคใต้std47904• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงเนื่องจากพบเว็บไซต์ที่บอกว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสต้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงใครที่ฉีดวัคซีนแอสต้า ให้เฝ้าระวังตนเอง เพราะ มีความเสี่ยงที่ตะเป็นโรคฝีดาษลิงstd46766• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทาstd48924• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอstd46538• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยคลิป TIKTOK ถูกนำไปอ้างเท็จว่าเป็น “แม่น้องหยก”คลิปวิดีโอของบัญชีผู้ใช้ TikTok ที่ชื่อว่า “มนุษย์แม่สะดวกแบบนี้” ถูกนำไปเผยแพร่ต่อโดยให้ข้อมูลเท็จว่าเป็นแม่ของ “หยก” เยาวชนหญิงวัย 15 ปี ผู้ต้องหาคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ซึ่งล่าสุดได้ออกมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในการแต่งกายของนักเรียน วันที่ 14 มิ.ย. 2566 เจ้าของบัญชี TikTok “มนุษย์แม่สะดวกแบบนี้” โพสต์คลิปวิดีโอความยาว 4.45 นาที วิจารณ์กรณีของ “หยก” โดยให้ความเห็นว่า เหตุที่หยกมีความคิดและออกมาเคลื่อนไหวเช่นนี้เป็นเพราะผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัวstd48204• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า พบสารประกอบของปรอท ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอทstd49573• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำมีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีมพี่รหัสน้อง มายจุ้บจุ้บอุ้อิ้หุหิ้• 2 ปีที่แล้ว
- 3 คนสงสัยคลิป TIKTOK ถูกนำไปอ้างเท็จว่าเป็น “แม่น้องหยก”วันที่ 14 มิ.ย. 2566 เจ้าของบัญชี TikTok “มนุษย์แม่สะดวกแบบนี้” โพสต์คลิปวิดีโอความยาว 4.45 นาที วิจารณ์กรณีของ “หยก” โดยให้ความเห็นว่า เหตุที่หยกมีความคิดและออกมาเคลื่อนไหวเช่นนี้เป็นเพราะผู้ใหญ่ที่อยู่รอบตัว หลังจากนั้น คลิปของเธอถูกนำไปเผยแพร่ต่อในโซเชียลมีเดีย โดยให้ข้อมูลเท็จว่าผู้หญิงในคลิปเป็นแม่ของหยก เช่นแทรกข้อความในคลิปว่า “แม่หยกเตือนผู้ใหญ่ข้างตัวหยุด” และ “แม่เชื่อ ติ่งส้มสุดโต่ง (กลุ่มทะลุวัง) ปั่นหัวน้องจนกลายเป็นภาระสังคม” ซึ่งเป็นคำพูดที่ไม่มีอยู่ในคลิปต้นฉบับ ขณะที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กคนหนึ่งนำคลิปนี้ไปเผยแพร่ต่อโดยระบุว่าเป็น “ความในใจแม่น้องหยก”กรชื่อนี้เสียไม่ได้• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จโควิด 2019std47896• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ