2435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยความเรียบร้อยของสังคมข่าวปลอมเรื่องนโยบายรัฐบาล ข่าวสารทางราชการ ความสงบเรียบร้อยของสังคม ขัดศีลธรรมอันดีและความมั่นคงภายในประเทศจำนวน 49 เรื่องstd48366• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยน้ำมะพร้าวเพิ่มขนาดหน้าอกได้จริงหรือ?น้ำมะพร้าวเพิ่มขนาดหน้าอกได้จริงหรือ? . แพทย์หญิงภัทราวดี ศิริประภานนท์กุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูติศาสตร์-นารีเวชศาสตร์ ตำแหน่งนายแพทย์ปฏิบัติการ โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ให้ข้อมูลว่า ในน้ำมะพร้าวมีฮอร์โมนเอสโตรเจนที่เรียกว่า ไฟโตเอสโตรเจน ซึ่งเป็นฮอร์โมนจากพืช สามารถออกฤทธิ์กับเนื้อเยื่อที่ตอบสนองกับฮอร์โมนเอสโตรเจนในผู้หญิงได้ โดยเฉพาะเนื้อเยื่อไขมัน เนื้อเยื่อเต้านม และอวัยวะสืบพันธุ์ความสวยความงามยาสมุนไพรผู้บริโภคเฝ้าระวังstd48036• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยเผย 6 แนวโน้มข่าวลวงสุขภาพ ปี 2022! ระวังหยด "น้ำมันกัญชา" เอง เสี่ยงอันตรายข่าวลวงยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย โดยเฉพาะข่าวลวงด้านสุขภาพที่ส่งผลต่อร่างกาย รุนแรงได้ถึงชีวิต หากไม่รู้เท่าทัน! เมื่อวันที่ 23 ส.ค. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับภาคีโคแฟค (COFACT) ประเทศไทย จัดเวทีสัมมนาไฮบริด นักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 23 จากมะนาวโซดา ถึงกัญชารักษาWorsorkubpom• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสสส. ร่วมพันธมิตร เปิดตัว “โคแฟค” แอปพลิเคชั่นตรวจสอบข่าวลวง ขยายสู่ชุมชนเมื่อวันที่ 28 ส.ค.ที่ผ่านมา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ ธนาคารจิตอาสา มูลนิธิฟรีดิช เนามัน และภาคีเครือข่ายป้องกันและตรวจสอบข่าวลวง จัดงานเสวนานักคิดดิจิทัลครั้งที่ 11 เปิดตัวโคแฟค "ทำไมความจริงร่วมจึงสำคัญ" พร้อมปฐมนิเทศจิตอาสาพัฒนาทักษะด้านเท่าทันสื่อและสุขภาวะทางปัญญารุ่นแรก ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุน สสส. กล่าวว่า ประเทศไทยมีสถานการณ์การระบาดของข่าวลวง อาทิ การหลอกขายสินค้า ภัยพิบัติ สุขภาพ ซึ่งหากประชาชนไม่เท่าทันสื่อตกเป็นเหยื่อ หรือส่งต่อข่าวปลอมโดยไม่รู้ตัว แนวทางการแก้ปัญหาและหยุดยั้งการระบาดของข่าวลวงในยุคชีวิติวิถีใหม่ (New Normal) จึงจำเป็นที่จะต้องมีกลไกกลางที่เปิดพื้นที่ให้ทุกคนได้มาแสวงหาข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยจุดประกายด้วยนวัตกรรม โคแฟค (Collaborative Fact Checking : Cofact) บนเว็บไซต์ cofact.org และไลน์ @cofact พร้อมสานพลังขับเคลื่อนสังคมขยายผู้ใช้ไปยังภาคีเครือข่าย เกิดเป็น “ชุมชนโคแฟค” และสร้างค่านิยมใหม่โดยใช้พลังพลเมืองในการร่วมตรวจสอบข่าวลวง ที่ทุกคนสามารถเป็น fact cheker เกิดพื้นที่ในการแสวงหาข้อเท็จจริงประเด็นสุขภาวะร่วมกันstd47848• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมิจฉาชีพหลอกซื้อกองทุน “ตลาดหลักทรัพย์ฯ-ก.ล.ต.” คนแห่สนใจอันดับ 1ดีอีเอส พบโจรไซเบอร์แสบ! ปั่นข่าวปลอมสุดสัปดาห์ ล่าสุดประชาชนแห่ให้ความสนใจและหลงเชื่อ “ตลาดหลักทรัพย์ฯ กับ ก.ล.ต.” เปิดซื้อกองทุน เริ่มต้น 1,000 บาท ขึ้นแท่นอันดับ 1 ระวัง! ถูกหลอกให้ลงทุน อย่าหลงเชื่อ SMS เพจ เว็บไซต์ปลอม พร้อมย้ำเป็นข้อมูลเท็จstd46678• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยEXO ย่างหมากินหลังหอข่าวลือเรื่องEXOย่างหมากินหลังหอเกิดจากเหตุผลที่คริสต้องออกจาก EXO เพราะรับไม่ได้ที่เมมเบอร์ย่างหมากินหลังหอมีมล้อเลียน เสียดสีstd46403• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการเรื่อไร การขอรับบริจาค สามารถกระทำได้โดยตนเอง หรือต้องขออนุญาตจากจากหน่วยงานของรัฐ หากไม่ขออนุญาตมีความผิดตามกฏหมายหรือไม่?ตัวอย่างที่เด่นชัด คือ “การขอรับบริจาคมาเพื่อใช้ในการดำรงชีพของตัวเอง” เช่นนี้เข้าข่ายการขอทานซึ่งเป็นเรื่องผิด เพราะปัจจุบันมีพ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน 2559 ห้ามบุคคลใดทำการขอทาน อันหมายความถึงการขอเงินหรือทรัพย์สินจากผู้อื่นเพื่อเลี้ยงชีพ ไม่ว่าจะเป็นการขอวิธีการใด อันทำให้เกิดความสงสารและส่งมอบเงินหรือทรัพย์สินให้ โดยมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับLoet Chaikham• 3 ปีที่แล้วmeter: true3 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อสุขภาพวัคซีนโควิดKhemmachart Jandum• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยชุดชั้นใน…มีผล ทำให้โอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมสูงขึ้น"Dressed to Kill" หนังสือที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการใส่ชุดชั้นในและมะเร็งเต้านม โดยสองนักวิจัย Sydney Singer และ Soma Grismaijer ซึ่งได้สรุปไว้ว่า...การสวมชุดชั้นในติดต่อกันนานเกิน 12 ชั่วโมงต่อวัน ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเต้านมสูงกว่า!!std48859• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันตามที่มีการโฆษณาทางสื่อโซเชียลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วัน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd47947• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิตามที่มีการแนะนำในประเด็นเรื่อง ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd47941• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมูลนิธิไทยรัฐจัดสัมมนาครู ร.ร.ไทยรัฐวิทยาภาคกลาง-ตะวันออกที่ จ.สุพรรณบุรีมูลนิธิไทยรัฐ จัดสัมมนาครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ภาคกลาง และภาคตะวันออก ปี 2565 ที่ จ.สุพรรณบุรี โดยเน้นย้ำครูให้ถ่ายทอดเรื่องสื่อยุคใหม่ไม่ยัดเยียด หรือใส่ความรุนแรง สู้ข่าวปลอมข่าวลวงในโซเชียลstd48100• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมปลอมครีมปลอมความสวยความงามผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47604• 2 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วัน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จความสวยความงามramitra7819• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อวัคซีนโควิดstd46748• 2 ปีที่แล้ว4 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโรงพยาบาลสงฆ์ กำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นวันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เพจเฟสบุ๊ค "โรงพยาบาลสงฆ์ PriestHospital" ขอประชาสัมพันธ์ จากกรณีที่มีข้อความ โพสและส่งต่อแชร์ข้อความตามสื่อออนไลน์ต่างๆ ขอรับบริจาคของโรงพยาบาลสงฆ์ ว่ากำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นโรงพยาบาลสงฆ์ ขอชี้แจงถึงประเด็นนี้ว่า ปัจจุบันโรงพยาบาลสงฆ์ ไม่ได้ขาดแคลนสิ่งของตามที่ต้นทางระบุ เนื่องจากยังมีข่าวปลอมเรื่อง รพ.สงฆ์ ขาดแคลน เครื่องอุปโภคบริโภคสำหรับพระอาพาธออกมาอยู่อย่างต่อเนื่องขอได้โปรด อย่าหลงเชื่อและติดตามข้อมูลสิ่งที่ควรบริจาคและเว้นการบริจาคให้ website ของ รพ.สงฆ์เองเท่านั้นstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอันตราย! ลัทธิกินอุจจาระ- ปัสสาวะรักษาโรค ส่งผลเสียสุขภาพกาย และจิตใจเข้าขั้นงมงายร่วมหลงผิดกรณีลัทธิประหลาดกินปัสสาวะ - อุจจาระ รักษาโรค ว่า เรื่องนี้ขอตอบในหลักวิทยาศาสตร์ว่า ปกติในอุจจาระปัสสาวะร่างกายของคนเรา เป็นของเสียที่ถูกขับออกมา ในอุจจาระ มีเชื้อโรค แบคทีเรีย มีพยาธิ เชื้อรา แม้ปัสสาวะ จะเป็นผ่านการกรองจากร่างกาย แต่ก็ไม่สมควรรับประทานอยู่ดี ปกติคนที่มีโรค หรือ มีการติดเชื้อทางเดินทางอาหาร การรับประทานอุจจาระก็สามารถได้รับเชื้อโรคจากอุจจาระได้ อย่างไรก็ตาม สำหรับคนที่รับประทานทั้งอุจจาระ และ ปัสสาวะ เสมหะ หรือ หนองเข้าไปแล้วรู้ผิดปกติ ก็ควรรีบไปพบแพทย์ทันที เพื่อรับการตรวจ เพราะเป็นสิ่งที่ไม่สมควรบริโภคstd47611• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงเนื่องจากพบเว็บไซต์ที่บอกว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสต้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงใครที่ฉีดวัคซีนแอสต้า ให้เฝ้าระวังตนเอง เพราะ มีความเสี่ยงที่ตะเป็นโรคฝีดาษลิงstd46766• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทาstd48924• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอstd46538• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันมีการโฆษณาทางสื่อโซเชียลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันพี่รหัสน้อง มายจุ้บจุ้บอุ้อิ้หุหิ้• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยนักเลงอ่างทอง ดวลปืนกลางร้านเหล้า เอก วัดจันทร์ฯ โดน 8 นัดไปตายรพ.อ่างทอง เกิดเหตุดวลปืนกลางร้านเหล้าดัง เอก วัดจันทร์ฯ ถูกกระสุน 8 นัด ไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ส่วนมือปืนคู่กรณีมีรอยเลือดทิ้งจยย.ไว้เกิดเหตุแล้วขึ้นรถเก๋งหลบหนี พยานเผยได้ยินเสียงถามว่า “ใครมองหน้า” ก่อนมีเสียงปืนดังลั่นstd47885• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จโควิด 2019std47896• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ