2435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยยาสมุนไพร“สมุนไพร” ทางเลือกในการรักษาและป้องกันโรคทั้งในรูปแบบของยาและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่เป็นกระแสนิยมของคนทั่วไปในปัจจุบันยาสมุนไพรSupanan Inkaew• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสื่ออาเซียนเผย “Fake News” เกี่ยวกับ "โควิด-19" หลายครั้ง “รัฐ” เผยแพร่เองนักข่าวฟิลิปปินส์ - อินโดฯ – มาเลย์ ย้ำบทบาท “สื่อ” สำคัญ ยุติข่าวปลอม ห่วงรัฐบาลอาศัยอำนาจพิเศษละเมิดสิทธิ์ประชาชนช่วงไวรัสโควิด-19 ระบาด วันที่ 14 เม.ย. ที่ผ่านมา ภาคประชาสังคม และกลุ่ม CoFact หรือ Collaborative Fact Checking แพลตฟอร์มใหม่ของภาคพลเมืองในการตรวจสอบข่าวลวง ได้จัดเวทีเสวนาเรื่อง How to handle Covid-19 infodemic in Asia? หรือ จะรับมือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโควิด – 19 ในเอเชียได้อย่างไร โดยมีสื่อมวลชนจากหลายประเทศเข้าร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การรายงานข่าว และการรับมือกับข่าวปลอมในช่วงการระบาดของโรคโควิด – 19 ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา เอนดี บายูนี (Endy Bayuni) บรรณาธิการอาวุโส หนังสือพิมพ์จาการ์ตาโพสต์ ประเทศอินโดนีเซีย กล่าวว่า สถานการณ์ “ข่าวปลอม” ในรอบนี้ในอินโดนีเซีย ถือว่าไม่รุนแรงเท่ากับการเลือกตั้ง หรือเรื่องการเมืองที่ผ่านมา ซึ่งเป็นเรื่องของความแตกแยก การใส่ร้ายป้ายสี และความรุนแรง โดยในรอบนี้ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการรักษาโรคแบบแปลกๆ หรือข่าวปลอมเรื่องอาสาสมัครที่เสียชีวิตจากโรคโควิด-19 ซึ่งไม่เป็นความจริงเท่านั้น ทั้งนี้ รัฐบาลอินโดนีเซีย ระบุว่ามีข่าวปลอมทั้งหมด 1,096 ชิ้น ได้ขอให้เฟซบุค นำข่าวปลอมออกทั้งหมด 759 โพสต์ แต่ในที่สุด เฟซบุค ได้เอาออกทั้งหมด 303 ข่าวเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ปัญหาใหญ่ไม่ได้อยู่ที่เฟซบุค แต่อยู่ที่แอปพลิเคชันที่เป็นการส่งข้อความแบบ Instant Messaging ระหว่างบุคคล อย่าง Whatsapp มากกว่า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ อยู่เหนือการควบคุมของรัฐบาล และมักจะเป็นตัวกลางชั้นดีในการกระจายข่าวปลอม นอกจากนี้ เอนดี ยังได้แสดงความกังวลว่า รัฐบาลอินโดนีเซีย ได้อาศัย “อำนาจพิเศษ” ในช่วงภัยพิบัติ ซึ่งรัฐบาลมีอำนาจเต็มมากกว่าห้วงเวลาปกติ ในการจับกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล โดยเมื่อวันที่ 12 เม.ย. ที่ผ่านมา ตำรวจได้จับตัวชายคนหนึ่ง ในข้อหาปลุกระดม สร้างความวุ่นวาย และในหลายครั้ง รัฐบาลอินโดนีเซียเองก็แชร์ “ข่าวปลอม” เพื่อสร้างความเชื่อมั่น หรือสร้างผลดีให้กับรัฐบาล หลังจากที่ก่อนหน้านี้ รัฐบาลถูกวิพากษ์วิจารณ์มากว่าประเมินสถานการณ์ต่ำไป รวมถึงรับมือได้ไม่ดีนัก จนทำให้โควิด-19 ระบาดหนักในอินโดนีเซีย จนมีอัตราตาย 8.7% สูงที่สุดเป็นอันดับต้นๆ ของโลก เพราะฉะนั้น ช่วงเวลานี้ การทำหน้าที่สื่อมวลชนจึงสำคัญมากในการตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบข่าวลวง - ข่าวปลอม รายงานข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ และในอีกแง่หนึ่งก็ต้องตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลตามไปด้วย ขณะที่อดัม คูเปอร์ (Adam Cooper) ผู้จัดการอาวุโสศูนย์ประสานงาน การพูดคุยเพื่อมนุษยธรรม (Centre for Humanitarian Dialogue) กล่าวว่า การไหลเวียนของข่าวลวงจำนวนมาก ทำให้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย จัดการกับข่าวลวงไม่ไหว อย่างไรก็ตาม ได้เห็นความพยายามในการมีส่วนร่วมจัดการข่าวลวงเช่นกัน ยกตัวอย่าง ในสหรัฐอเมริกาเอง หากเปิดกูเกิล หรือเฟซบุค ข่าวเกี่ยวกับโควิด-19 จากสำนักงานควบคุมโรคติดต่อ หรือจากองค์การอนามัยโลกที่เชื่อถือได้ จะขึ้นมาเป็นอันดับแรกๆ หรือในยูเครน องค์การอนามัยโลก ก็มี Chatbot ไว้ตอบคำถามเป็นภาษารัสเซีย ซึ่งสามารถจัดการกับข่าวปลอม และเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องได้พอสมควร แต่ที่เป็นปัญหาก็คือ ในประเทศที่รัฐขาดความชอบธรรม และความน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลข่าวสารที่มาจากรัฐเองจะขาดความน่าเชื่อถือตั้งแต่ต้น และข่าวสารใดๆ ที่รัฐแถลงออกมา ประชาชนจะไม่เชื่อ และไม่ทำตาม ซึ่งตรงนี้ ภาคประชาสังคม จะมีบทบาทสำคัญในการตรวจสอบที่มาข่าว และเผยแพร่ข้อเท็จจริงเป็นวงกว้าง โดยภาคประชาสังคม จะมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ ในสถานการณ์แบบนี้ อดัม กล่าวอีกว่า ความท้าทายอีกอย่างก็คือ มีความ “อคติ” เรื่องเชื้อชาติ - ศาสนา อยู่มากพอสมควร ในโซเชียลมีเดีย เช่น การบอกว่าพิธีกรรมทางศาสนา เป็นตัวกระจายการแพร่ระบาดของโรค ซึ่งจุดนี้ ภาคประชาสังคม และกลุ่มตรวจสอบข่าวลวง อาจต้องสื่อสารหนักขึ้นเพื่อลดอคติ และความเข้าใจผิด ไม่ให้เกิดความขัดแย้งด้านเชื้อชาติ - ศาสนา ในเวลาแบบนี้std48079• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสื่ออาเซียนเผย “Fake News” เกี่ยวกับ "โควิด-19" หลายครั้ง “รัฐ” เผยแพร่เองนักข่าวฟิลิปปินส์ - อินโดฯ – มาเลย์ ย้ำบทบาท “สื่อ” สำคัญ ยุติข่าวปลอม ห่วงรัฐบาลอาศัยอำนาจพิเศษละเมิดสิทธิ์ประชาชนช่วงไวรัสโควิด-19 ระบาดstd48063• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยฟ้าทะลายโจร ช่วยป้องกันการ ติดเชื้อโควิค-19ฟ้าทะลายโจรช่วยป้องกันการติดโควิดโควิด 2019ยาสมุนไพรPeemaiii• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเที่ยวแบบ VVIP : ปมจ้างตำรวจไทยนำขบวน นทท. จีน สะท้อนภาพปราบโกงล้มเหลวหรือไม่จากมหากาพย์ทุนจีนสีเทา คดีจับกุมอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช คาโต๊ะทำงานจากข้อหาเรียกรับเงินเพื่อซื้อขายตำแหน่งในกรม จนถึงล่าสุด กรณีปมจ้างตำรวจนำขบวน นทท. จีนเดินทางจากสนามบินถึงที่พักstd46517• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยฮือฮา โพสต์อ้าง FBR รับสมัครทหารรับจ้าง เงินเดือน 5 หมื่นอัพ-ที่พักฟรีโซเชียลฮือฮา โพสต์อ้าง FBR เปิดรับสมัคร "ชาย-หญิงไทย อายุ 16-40 ปี ฝันอยากเป็นนักรบ เงินเดือนดี-ที่พักฟรี" ด้าน จนท.ความมั่นคงตรวจสอบเป็นข่าวปลอม เชื่อทำขึ้นมาเพื่อสร้างกระแสขัดแย้งstd48554• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัย“เนื้อดิบ” ป้องกันโควิด-19มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อโซเชียลมีเดียว่าเนื้อดิบมีสรรพคุณเป็นยาป้องกันและรักษาโควิด-19 ได้ โดยผลการตรวจสอบได้ข้อสรุปว่าเป็นข่าวลวง เพราะไม่มีหลักฐานวิทยาศาสตร์ยืนยันแน่ชัดว่าการรับประทานเนื้อดิบจะสามารถช่วยป้องกันโรคโควิด-19 ได้ อีกทั้งการรับประทานเนื้อดิบอาจมีผลทำให้เป็นโรคพยาธิใบไม้ตับสุขภาพโควิด 2019std48863• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยตำแหน่งสิวสามารถบอกโรคได้สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ชี้แจงว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งของการเกิดสิวในที่ต่าง ๆ ของใบหน้าหรือร่างกายกับความผิดปกติหรือโรคในระบบอื่น ๆ นั้น ในปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยยืนยันหรือสนับสนุนความผิดปกติในเรื่องดังกล่าว โดยสิวเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของรูขุมขนและต่อมเหงื่อ (Pilosebaceous unit) เกิดได้ในทุกช่วงอายุ แต่มักจะเกิดมากที่สุดในช่วงวัยรุ่น กลไกการเกิดสิวเกี่ยวข้องกับการอุดตันของรูขุมขน การผลิต sebum หรือไขมันจากต่อมไขมันที่มากผิดปกติ เชื้อก่อโรค Cutibacterium acnes ที่ผิวหนัง และขบวนการอักเสบของร่างกาย โดยมีปัจจัยทางด้านกรรมพันธุ์ ฮอร์โมนโดยเฉพาะฮอร์โมนเพศชายแอนโดรเจน (androgen) ปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกันของร่างกาย กรดไขมันจำเป็นที่ผิวหนังบางชนิด เป็นตัวส่งเสริมในการเกิดโรค สิวอาจสัมพันธ์กับโรคที่มีความผิดปกติของการผลิตฮอร์โมนเพศซึ่งจะสงสัยมากขึ้นในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วยโดยเฉพาะผู้หญิงที่มีสิวรุนแรง มีสิวเห่อช่วงใกล้หรือช่วงที่มีประจำเดือน ร่วมกับมีหน้ามันมาก ขนดก ผมบางจากฮอร์โมน เสียงแหบเหมือนผู้ชาย เป็นต้น บางคนอาจพบมีความผิดปกติของประจำเดือนร่วมด้วยได้ ซึ่งกรณีที่มีความผิดปกติที่สงสัยจะต้องมีการตรวจเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการต่อไปstd47789• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยหลอกกันอีกแล้ว ! รู้ทันข่าวลวงก่อนแชร์ในโลกโซเชียลเคยสงสัยไหมว่า เว็บไซต์หรือแอคเคาท์บนโซเชียลถึงชอบสร้างข่าวลวง คำตอบง่าย ๆ นั่นก็คือ อยากได้ “ทราฟฟิค” ที่หมายถึงยอดผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์หรือจำนวนผู้ติดตามนั่นเอง เพราะทราฟฟิคสามารถแปรเปลี่ยนเป็น “ต้นทุน” ในการหาสปอนเซอร์มากมาย ที่เดี๋ยวนี้การโปรโมทแบรนด์หรือข่าวสารต่าง ๆ บนโลกออนไลน์มีมูลค่าไม่แพ้สื่อสิ่งพิมพ์หรือทางโทรทัศน์เลย แล้วยังมีทีท่าว่าจะเพิ่มขึ้นทุกวัน เพราะโลกเข้าสู่ยุคดิจิทัลเต็มด้วย ผู้คนต่างมีอีกชีวิตหนึ่งบนโลกโซเชียล การซื้อขายหรือการเนียน ๆ ประชาสัมพันธ์ก็เป็นเรื่องธรรมดาไปแล้ว แต่ที่น่ากลัวกว่านั้นก็คือ เว็บไซต์หลอกลวงเหล่านี้มักนำเสนอด้วยหัวข้อ ภาพประกอบstd48100• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยบุกจับครีมเขมรฝาเเดงครีมเขมรฝาเเดง ในโลกโซเชียล ได้มีคนพูดกันว่า ขาวขึ้นใน7วัน สิวหายเกลี้ยง ทำให้คนหลงเชื่อกันมากความสวยความงามCoyi• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยBLACKPINK อาจได้รับข้อเสนอเงินมหาศาลเพื่อต่อสัญญากับ YGวันที่ 19 ม.ค. ที่ผ่านมา บริษัทหลักทรัพย์ NH Investment & Securities คาดการณ์เอาไว้ในรายงานวิเคราะห์ของบริษัทว่า BLACKPINK อาจต่อสัญญากับ YG อีกครั้ง แต่สำนักข่าว Munhwa Ilbo รายงานเมื่อวันที่ 23 ม.ค. ว่า คงไม่ใช่เรื่องง่ายที่ YG จะทำให้สาวๆ BLACKPINK ต่อสัญญากับค่ายได้ เพราะสมาชิกแต่ละคนก็ได้รับข้อเสนอและจำนวนเงินมากมายจากค่ายเพลงอื่นๆ ที่ติดต่อเข้ามาเช่นกันstd48391• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยเตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19สภาองค์กรของผู้บริโภค เตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19 ด้าน อย. ระบุแล้วเป็นโฆษณาเกินจริง มีข้อความไม่เป็นธรรมกับผู้บริโภค จากการที่สภาองค์กรของผู้บริโภค (สอบ.) เตือน อย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์ฟ้าทะลายโจรสำหรับพ่นปากและลำคอ’ อ้างสรรพคุณป้องกันโควิด-19 จึงแจ้งไปยังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อขอให้ตรวจสอบการโฆษณาสเปรย์สำหรับพ่นลำคอข้างต้นว่าเข้าข่ายผิดกฎหมายหรือไม่ผู้บริโภคเฝ้าระวังstd48951• 2 ปีที่แล้ว2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยโควิด-19 : ทฤษฎีสมคบคิดและข้อมูลเท็จที่ทำให้คนยุโรปต่อต้านมาตรการโควิดในช่วงไม่นานมานี้ มีผู้คนออกมาประท้วงในหลายประเทศในยุโรปจนเกิดการปะทะรุนแรงกับเจ้าหน้าที่ เนื่องจากพวกเขาไม่พอใจที่ทางการกลับมาบังคับใช้มาตรการรับมือโควิด-19 อย่างเข้มงวดอีกครั้ง การประท้วงทั้งบนท้องถนนและในโลกโซเชียลมีเดีย มีการตั้งคำถามถึงความชอบธรรมของทางการในการตัดสินใจดำเนินมาตรการดังกล่าว แต่ขณะเดียวกันก็มีการเผยแพร่ข้อมูลเท็จโดยคนที่ออกไปร่วมการประท้วงด้วย อาทิ การกล่าวหาอย่างเลื่อนลอย ตั้งแต่ การฉีดวัคซีนคือแผนการวางยาพิษต่อประชากร ไปจนถึงการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลราวกับว่า "เผด็จการในการปราบปรามการประท้วง" เป็นต้นstd48075• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสเปรย์พ่คอป้องกันโควิดสภาองค์กรของผู้บริโภค เตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19 ด้าน อย. ระบุแล้วเป็นโฆษณาเกินจริง มีข้อความไม่เป็นธรรมกับผู้บริโภคstd48009• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยยาผีบอกรักษาทุกโรคยาผีบอก คือ ผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณที่โฆษณาโอ้อวดสรรพคุณเกินกว่าความเป็นจริง ไม่ว่าจะเป็นแก้ปวดเมื่อย รักษามะเร็ง โรคเก๊า ภูมิแพ้ รูมาตอยด์ ขับสารพิษ โดยจะมีลักษณะเป็นผงสีน้ำตาลอยู่ในบรรจุภัณฑ์สีใส อยู่ในหมวดหมู่ยาควบคุมพิเศษ ภายใต้การดูแลของแพทย์ ก่อนจะใช้ต้องปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เพราะมีผลข้างเคียงสูง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว แม้ว่าในช่วงแรกที่ใช้นั้นมันจะบรรเทาอาการความเจ็บป่วยได้ก็ตามstd47611• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยปลอมเป็นชาย/หญิงออกอุบายหลอกลวงตีสนิทแล้วหลอกลวงstd47712• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกินฟ้าทะลายโจรหายจากโควิดจริงหรอยาฟ้าทะลายโจรมีสาร(Andrographolide) มีส่วนช่วยยับยั้งการแพร่เชื้อโควิด-19 ในผู้ป่วยอาการไม่รุนแรงจึงสามารถใช้รักษาในอาการเบื้องต้นได้เท่านั้น การทานยาฟ้าทะลายโจรไม่สามารถป้องกันเชื้อโควิด-19 ได้โควิด 2019ยาสมุนไพรstd47912• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอาหารเสริมคอลลาเจนชงดื่ม ที่เน้นเรื่องการเพิ่มความนุ่มชุ่มชื้น เนียนลื่น และขาวใสให้กับผิวความสวยความงามvaranya282551• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยสเปรย์พ่นคอจากการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทั้งหมด พบว่า เป็นผลิตภัณฑ์ที่จดทะเบียนเป็นเครื่องสำอาง และได้รับอนุญาตจาก อย. แต่กลับมีการโฆษณาที่ไม่เป็นธรรมกับผู้บริโภคหรืออาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมเป็นส่วนรวม เช่น การอ้างสรรพคุณว่าสามารถป้องกันเชื้อโควิด – 19 สามารถป้องกันเชื้อ ต้านเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ สามารถดักจับเชื้อไวรัสก่อนลงปอด เป็นต้น ซึ่ง อย. ได้ส่งเรื่องให้ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และดำเนินการตามกฎหมายกับโฆษณาที่เข้าข่ายฝ่าฝืนกฎหมายstd48101• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสารพันเรื่องราวน่าพิศวงของ “เอเลียน” และความคืบหน้าของการค้นหาสิ่งมีชีวิตต่างดาวในปี 2021ข่าวคราวความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับปรากฏการณ์ประหลาดอย่างจานบินหรือยูเอฟโอ, สิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาจากนอกโลก, หรือแม้แต่จุลชีพตัวจิ๋วที่อาจอยู่ในมหาสมุทรหรือชั้นบรรยากาศของต่างดาว ล้วนเป็นเรื่องราวที่ผู้คนทั่วโลกให้ความสนใจติดตามกันมาโดยตลอด แต่ในปี 2021 ข่าวคราวเกี่ยวกับการค้นหาความจริงในเรื่องเหล่านี้ออกจะน่าผิดหวังอยู่ไม่น้อยstd46363• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยันลูกเครียดทรงผม ม.3 โดดเสาฆ่าตัวตาย ถูกครูบังคับตัดสั้น แถมขู่ซ้ำให้ย้าย ร.ร.8 มิ.ย. 2566 05:19 น. ข่าว ทั่วไทย ใต้ ไทยรัฐฉบับพิมพ์ ยันลูกเครียดทรงผม ม.3 โดดเสาฆ่าตัวตาย ถูกครูบังคับตัดสั้น แถมขู่ซ้ำให้ย้าย ร.ร. ... นักเรียนชายชั้น ม.3 เครียดปีนเสา สัญญาณโทรศัพท์ดิ่งพื้นดับอนาถ หลังครูสั่งให้ตัดผมถึง 3 ครั้ง จนเครียดฆ่าตัว ตาย ส่วน ผอ.โรงเรียนแจง ระเบียบของโรงเรียนกำหนดให้ผู้ปกครอง ตัวแทนนักเรียน และสภานักเรียนทำ ข้อตกลงร่วมกัน ทรงผมจะสั้น หรือยาวก็ได้แต่ต้องไม่ทำสีผม เชื่อนักเรียนเครียดเรื่องส่วนตัว ขณะที่พ่อเด็กย้ำลูกเครียดเรื่องทรงผม ถูกครูขู่หากไม่เปลี่ยน ทรงผมต้องย้ายโรงเรียน แต่ไม่ติดใจเอาความกับครู ยันลูกเครียดทรงผม ม.3 โดดเสาฆ่าตัวตาย ถูกครูบังคับตัดสั้น แถมขู่ซ้ำให้ย้าย ร.ร. เหตุนักเรียนกระโดดเสาสัญญาณโทรศัพท์ฆ่าตัวตายรายนี้ เปิดเผยเมื่อเวลา 07.00 น. วันที่ 7 มิ.ย. ร.ต.ท.ทวีวิทย์ แก้วโรย รอง สว. (สอบสวน) สภ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช รับแจ้งเหตุนักเรียนชายปีนเสาสัญญาณโทรศัพท์กระโดดลงมาฆ่าตัวตายที่บริเวณในปั๊มน้ำมันไม่มีชื่อภายในซอยถนนยุทธศาสตร์ ต.ปากแพรก ไปตรวจสอบพร้อมด้วย พ.ต.อ.ธีระวุฒิ เทพเลื่อน ผกก.สภ.ทุ่งสง ตำรวจสายตรวจและชุดสืบสวน แพทย์เวรโรงพยาบาลทุ่งสง และอาสาสมัครมูลนิธิประชาร่วมใจ ... ที่เกิดเหตุภายในปั๊มน้ำมันข้างร้านคาร์แคร์พบศพ ด.ช.รักษ์ (นามสมมติ) อายุ 14 ปี นักเรียน ชั้น ม.3 โรงเรียนแห่งหนึ่งใน อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช สภาพนอนหงายในชุดพละของโรงเรียน แขนขาและคอหัก ใกล้กันมีเสาสัญญาณโทรศัพท์มือถือ หลังคากระเบื้องแตกทะลุกระจายเกลื่อนพื้น แพทย์ชันสูตรพบเสียชีวิตมาแล้ว 6-8 ชม. สอบสวนพนักงานปั๊มน้ำมันทราบว่า นอนอยู่ห้องพักติดกับปั๊มน้ำมันได้ยินเสียง ดังโครมสนั่นช่วงเวลา 22.00 น. วันที่ 6 มิ.ย. แต่เข้าใจว่าเป็นเสียงรถชนกันไม่ได้ออกมาดู กระทั่งรุ่งเช้ามาทำงานเห็นเด็กผู้ชายนอนเสียชีวิตใกล้กับเสาสัญญาณโทรศัพท์ คาดผู้ตายปีนเสากระโดดฆ่าตัวตายeat47943• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยใส่หน้ากากนานเลือดเป็นกรดจริงหรือไม่หลังจากมีข่าวออกมาว่าทั่วโลกโซเชียลว่า ใส่หน้ากากนาน ๆ จะทำให้ภาวะเลือดเป็นกรด เนื่องจากการใส่หน้ากากอนามัยจะทำให้เราหายใจเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่หายใจออกมากลับเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งจะทำให้ร่างกายขาดออกซิเจนJidapha Petlim• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยคนอายุน้อย คนผอม ระดับไขมันในเลือดปกติจะไม่มีโอกาสเป็นโรคหัวใจในคนอายุน้อยและระดับไขมันเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีโอกาสเกิดโรคน้อยกว่า และ ไม่ทีโอกาสเป็นโรคหัวใจstd48449• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยhttps://www.greenpeace.org/thailand/story/19662/plastic-3-everyday-foods-that-contain-microplastics/ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยน้ำมะพร้าวการดื่มน้ำมะพร้าวช่วยให้ผิวขาวขึ้นจริงไหม?ความสวยความงามPeupeu.• 4 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ