ตามที่มีการเผยแพร่ข้อความในประเด็นเรื่องอาหารเสริมที่มีส่วนประกอบของพลูคาวหรือคาวตอง ต้านเชื้อไวรัสโควิด-19 ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าข้อมูลดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
จากกรณีการโฆษณาชวนเชื่อขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีส่วนประกอบของพลูคาว หรือคาวตอง โดยระบุสรรพคุณว่าสามารถต้านเชื้อโควิด-19 ได้นั้น จากการตรวจสอบข้อมูลโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พบว่า ข้อมูลดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ และเป็นการโอ้อวดสรรพคุณที่เกินจริง เนื่องจากกลุ่มผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ได้ขึ้นทะเบียนกับทาง อย. เป็นประเภทอาหาร มิใช่ยารักษาโรค
จากกรณีการโฆษณาชวนเชื่อขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีส่วนประกอบของพลูคาว หรือคาวตอง โดยระบุสรรพคุณว่าสามารถต้านเชื้อโควิด-19 ได้นั้น จากการตรวจสอบข้อมูลโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พบว่า ข้อมูลดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ และเป็นการโอ้อวดสรรพคุณที่เกินจริง เนื่องจากกลุ่มผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ได้ขึ้นทะเบียนกับทาง อย. เป็นประเภทอาหาร มิใช่ยารักษาโรค
ข่าวปลอม อย่าแชร์! อาหารเสริมที่มีส่วนประกอบของพลูคาว ต้านเชื้อไวรัสโควิด -19
https://mgronline.com/factcheck/detail/9630000075864กรณีการโฆษณาชวนเชื่อขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีส่วนประกอบของพลูคาว หรือคาวตอง สามารถรักษาโควิด-19 ได้ ตรวจพบเป็นการโอ้อวดสรรพคุณที่เกินจริงตามที่มีการเผยแพร่ข้อความในประเด็นเรื่องอาหารเสริมที่มีส่วนประก