1 คนสงสัย
รู้หรือไม่ ข้าวกล่องใน...... ทำไมถึงมีสีของกล่องที่แตกต่างกัน
รู้หรือไม่ ข้าวกล่องใน......

ทำไมถึงมีสีของกล่องที่แตกต่างกัน
กล่องขาว ใส่สารกันบูด 100%
กล่องดำ ใส่สารกันบูด 50%
กล่องแดง ใส่สารกันบูด 25%
เลือกเอา
Mrs.Doubt
 •  2 ปีที่แล้ว
meter: false
2 ความเห็น

ผู้บริโภคเฝ้าระวังมีม

Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

สิ่งที่ทำให้ข้าวกล่องแต่ละสีแตกต่างกันอีกนั่นก็คือ ข้าวกล่องสีแดงและข้าวกล่องสีดำเป็นอาหารแช่เย็นจะมีความสดกว่า ข้าวกล่องสีขาวจะเป็นอาหารแช่

ที่มา

https://www.brighttv.co.th/bright-news/7-11-rice
Joke_Air เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

ใส่ร้าย ดิสเครดิต

ที่มา

https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/posts/1627433521073028

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ . ตามที่มีการโพสต์ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลบิดเบือน . กรณีการโพสต์ให้ข้อมูลโดยระบุว่าพบกรดเบนโซอิกในก๋วยเตี๋ยวประเภทต่างๆ โดยแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า จากที่มีการแชร์ข้อมูลผลตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเมื่อปี 2550 ซึ่งสำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในฐานะห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านการตรวจวิเคราะห์อาหารของประเทศ ได้มีการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังการใช้วัตถุกันเสีย (กรดเบนโซอิคและกรดซอร์บิค) ในอาหารประเภทเส้นมาอย่างต่อเนื่อง . นอกจากนี้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว ซึ่งการผลิตอาหารประเภทเส้น บางชนิดมีการใช้วัตถุกันเสีย เพื่อช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต หรือทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุให้อาหารเน่าเสีย หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะกรดเบนโซอิกทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และท้องเสีย แต่หากได้รับในปริมาณน้อยร่างกายสามารถขับออกไปได้ ซึ่งข้อมูลของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตรและองค์การอนามัยโลกแห่งสหประชาชาติ (The joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives, JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (ADI) พบว่า มีความเป็นพิษต่อคนและสัตว์น้อย . อย่างไรก็ตามวัตถุกันเสียทั้งสองชนิดมีข้อกำหนดการใช้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 418) พ.ศ.2563 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2) สำหรับกรดเบนโซอิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในอาหารประเภทเส้นที่ผ่านกระบวนการต้ม การนึ่ง การปรุงให้สุกการพรีเจลาทิไนซ์ (Pre-gelatinized) หรือแช่เยือกแข็ง และเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป ส่วนกรดซอร์บิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉพาะอาหารประเภทเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป . เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังคงเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นที่ทำจากแป้งอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งพัฒนาผู้ผลิตให้มีความรู้ความเข้าใจการใช้วัตถุกันเสียอย่างถูกต้อง ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ อย.กำหนด ซึ่งผู้ผลิตจะต้องควบคุมกระบวนการผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP สำหรับผู้บริโภคควรเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ปรุงสุก สดใหม่ สะอาด ถูกสุขอนามัย และไม่ควรรับประทานอาหารซ้ำๆ กันเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ . ดังนั้นข้อมูลที่มีการโพสต์ และแชร์ต่อในขณะนี้ จึงเป็นข้อมูลบิดเบือน ขอความร่วมมือประชาชน ไม่แชร์ ไม่ส่งต่อข่าวดังกล่าว เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www3.dmsc.moph.go.th หรือโทร. 02 9510000 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลที่มีการบอกต่อดังกล่าวเป็นข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์เมื่อปี 2550 แต่ปัจจุบันกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ประเภทเส้นที่ทำจากแป้งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . Website : https://www.antifakenewscenter.com/
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    7 ข้อเลี่ยง ลดเสี่ยงมะเร็ง
    7 ข้อเลี่ยง ลดเสี่ยงมะเร็ง 1. เลี่ยงการอยู่กลางแดดจ้า 2. เลี่ยงบุหรี่ แอลกอฮอล์ 3. เลี่ยงอาหารรสจัด หมักดอง 4. เลี่ยงการอยู่ในบริเวณที่มีมลพิษ ฝุ่น ควัน 5. เลี่ยงอาหารสดหรืออาหารแปรรูปที่ใส่ดินประสิวหรือสารกันเสีย 6. เลี่ยงอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ 7. เลี่ยงอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ปิ้ง ย่าง ทอดไหม้ กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี https://www.facebook.com/anamaidoh
    Mrs.Doubt
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สำหรับกลุ่มที่ตรวจพบสารกันบูดเกินมาตรฐาน มีจำนวน 7 ตัวอย่าง ได้แก่ 1) น้ำพริกหนุ่ม ร้านดำรงค์ จาก ตลาดวโรรส จ.เชียงใหม่ พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 890.32 มก./กก. 2) น้ำพริกหนุ่ม ล้านนา จาก ตลาดของฝากเด่นชัย จ.แพร่ พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 1026.91 มก./กก. 3) น้ำพริกหนุ่ม นิชา (เจ๊หงษ์ น้ำพริกหนุ่ม) จาก ตลาดวโรรส จ.เชียงใหม่ พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 1634.20 มก./กก. 4) น้ำพริกหนุ่ม เจ๊หงษ์ จาก ตลาดวโรรส จ.เชียงใหม่ พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 1968.85 มก./กก. 5) น้ำพริกหนุ่ม แม่ชไมพร จาก ตลาดสดอัศวิน ร้านสิริกรของฝาก จ.ลำปาง พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 2231.82 มก./กก. 6) น้ำพริกหนุ่ม ยาใจ (รสเผ็ด) จาก ร้านขายของฝากสามแยกเด่นชัย จ.แพร่ พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 3549.75 มก./กก. 7) น้ำพริกหนุ่ม อุมา จาก ตลาดสดแม่ต๋ำ จ.พะเยา พบปริมาณ กรดเบนโซอิก เท่ากับ 5649.43 มก./กก.
    ไม่ระบุชื่อ
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    หลายคนมีมุมมองว่า อาหารแช่แข็ง รับประทานมากๆอันตรายเพราะสารกันบูดจริงหรือไม่
    คนทั่วไปมักคิดว่าควรรับประทานอาหารสดใหม่ ไม่ค่อยอยากรับประทานอาหารแช่แข็งเพราะอาจมีสารกันบูด จริงหรือเปล่าคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เส้นก๋วยเตี๋ยว โดยเฉพาะเส้นเล็ก มีสารกันบูดมาก ทานมากๆอันตราย จริงหรือ
    เนื่องจากเส้นก๋วยเตี๋ยวมีโอกาสจุลินทรีย์เจริญเติบโตได้ง่ายมากทำให้เสียเร็วจึงต้องใส่สารกันบูดชนิด โซเดียมเบนโซเอท มากกว่าปกติ โดยเฉพาะเส้นเล็ก เพราะผลิตจากแป้งและมีความชื้น มีการแชร์กันว่ารับประทานมากๆอันตราย จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สัมผัสสารกันบูดในปลาทูนึ่ง ทำให้เป็นมะเร็งผิวหนัง จริงหรือ
    มีการโพสท์อ้างว่าเป็นแม่ค้าปลาทูนึ่ง โดยข้อความเตือนภัยเรื่องสัมผัสสารกันบูดในปลาทูนึ่ง ทำให้เป็นมะเร็งที่มือ ข่าวจริงหรือคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กินอาหารใส่สารกันเสีย กันบูดอันตราย จริงหรือ
    สารกันเสีย (Preservative) เป็นสารที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย เชื้อรา และยีสต์ จึงนำมาใช้เป็นสารถนอมอาหาร ช่วยยืดอายุการเก็บรักษา และยังช่วยรักษารสชาติ ผิวสัมผัส สี ให้ดูน่ากินเหมือนเพิ่งปรุงเสร็จใหม่ๆ สารกันเสียสามารถนำมาใส่ลงไปในเครื่องสำอาง อาหาร หรือยา ตัวอย่างสารกันเสียที่นำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และมีความปลอดภัยสูง ได้แก่ กรดเบนโซอิค เป็นต้น โดยปริมาณสูงสุดที่ให้ใช้ได้คือ 1,000 มิลลิกรัม ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม มีหลาย ๆ คนเชื่อว่าห้ามกินอาหารที่ใส่สารกันเสียเพราะจะทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ ซึ่งความจริงแล้วนั้น สารกันเสียในอาหารเป็นสารที่สามารถกินได้ หากกินในปริมาณที่เหมาะสม ร่างกายจะสามารถกำจัดสารกันเสียออกทางปัสสาวะได้ ก็จะไม่เกิดอันตรายใด ๆ แต่ถ้าหากรับประทานในปริมาณมากก็จะทำให้เกิดการสะสมอยู่ในร่างกายซึ่งอาจเกิดอันตรายได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สารกันบูดที่อยู่บนผิวปลาทูนึ่ง หากสัมผัสโดนทำให้เป็นมะเร็งผิวหนัง
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false