รายการความเห็น


11053 ความเห็น

❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
เตือน ระวังมิจฉาชีพ ส่งข้อความผ่านทาง SMS และสื่อออนไลน์ต่างๆ อ้างกองทุนน้ำอัดลมชื่อดัง เงินเดือนเข้า ให้คลิกลิงก์หวังดูดข้อมูลส่วนตัว บริษัทฯ "เป๊ปซี่" แจงพบการแอบอ้าง อย่าหลงเชื่อ วันที่ 8 มิ.ย.64 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในโลกโซเชียลมีการแชร์ข้อความเตือนภัย อย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพ หลังอ้างเป็นกองทุนน้ำอัดลมดัง ส่งลิงก์เข้ามาในโทรศัพท์มือถือผ่านทาง SMS และสื่อสังคมออนไลน์ อย่าง facebook และ Line โดยผู้ที่ได้รับข้อความดังกล่าว ห้ามกดลิงก์ดังกล่าวเด็ดขาด เนื่องจากเชื่อว่าเป็นการกระทำของมิจฉาชีพ แก๊งทวงหนี้ดอกโหด หลอกล่อในการทำธุรกรรมบางอย่าง พร้อมกับดูดข้อมูลส่วนตัวไปเป็นตัวประกัน ซึ่งเฟซบุ๊กเพจ "หมอแล็บแพนด้า" ก็ได้ออกมาเตือนผู้ที่ติดตามเช่นกันว่า หากได้รับ SMS ที่ไม่น่าเชื่อถือเหล่านี้ อย่าไปกดรับเด็ดขาด
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
เตือน ระวังมิจฉาชีพ ส่งข้อความผ่านทาง SMS และสื่อออนไลน์ต่างๆ อ้างกองทุนน้ำอัดลมชื่อดัง เงินเดือนเข้า ให้คลิกลิงก์หวังดูดข้อมูลส่วนตัว บริษัทฯ "เป๊ปซี่" แจงพบการแอบอ้าง อย่าหลงเชื่อ วันที่ 8 มิ.ย.64 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ในโลกโซเชียลมีการแชร์ข้อความเตือนภัย อย่าหลงเชื่อมิจฉาชีพ หลังอ้างเป็นกองทุนน้ำอัดลมดัง ส่งลิงก์เข้ามาในโทรศัพท์มือถือผ่านทาง SMS และสื่อสังคมออนไลน์ อย่าง facebook และ Line โดยผู้ที่ได้รับข้อความดังกล่าว ห้ามกดลิงก์ดังกล่าวเด็ดขาด เนื่องจากเชื่อว่าเป็นการกระทำของมิจฉาชีพ แก๊งทวงหนี้ดอกโหด หลอกล่อในการทำธุรกรรมบางอย่าง พร้อมกับดูดข้อมูลส่วนตัวไปเป็นตัวประกัน ซึ่งเฟซบุ๊กเพจ "หมอแล็บแพนด้า" ก็ได้ออกมาเตือนผู้ที่ติดตามเช่นกันว่า หากได้รับ SMS ที่ไม่น่าเชื่อถือเหล่านี้ อย่าไปกดรับเด็ดขาด
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Joke_Air
ตัวเลข 99.9% ยังเป็นเพียงผลการทดลองในสัตว์ทดลอง แต่ก็อาจถือได้ว่าเป็นอีกความหวังหนึ่งของชาวโลก
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Joke_Air
ในภาพนี้ไม่ได้ระบุไว้ว่า ไปฉีดที่ใด แต่การที่กำหนดให้หญิงให้นมบุตรฉีดได้แต่ Sinovac เท่านั้น ก็น่าจะเป็นจริง เพราะ AstraZeneca อาจมีความปลอดภัยน้อยกว่า ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ ควรปรึกษาแพทย์ ก่อนการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 การพิจารณาชนิดของวัคซีน * หากเป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย เช่น วัคซีน Sinovac ตามหลักการน่าจะปลอดภัย * มีข้อมูลการให้วัคซีน mRNA บ้าง พบว่าปลอดภัย ส่วนวัคซีนไวรัสเวกเตอร์ เช่น วัคซีน AstraZeneca ควรปรึกษาแพทย์ อย่างไรก็ตาม ผู้หญิงที่ให้นมบุตร ก็ควรที่จะสามารถฉีดวัคซีนแบบอื่นได้ เนื่องจากส่วนประกอบของวัคซีนมีโอกาสผ่านน้ำนมน้อยมาก แต่อาจจะเป็นไปเพื่อความปลอดภัยสูงสุด เขาจึงกำหนดให้เป็น Sinovac ดังกล่าว
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Joke_Air
ยังไม่ทราบว่าภาพนี้สื่อถึงประเด็นใด และจากการส่งภาพนี้เข้าไปใน Google Images เพื่อสืบค้นก็ยังไม่พบข้อมูลใด ๆ
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Thanathun.
จากการศึกษาในการวิจัยทางคลินิก เดิมระยะห่าง การให้วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า อยู่ที่ 4 สัปดาห์ เมื่อทำการศึกษาระยะที่ 3 ผู้ที่ได้รับวัคซีน 2 ครั้ง ห่างกันมากกว่า 6 สัปดาห์ ถึง 12 สัปดาห์ ได้ผลภูมิต้านทาน และประสิทธิภาพดีกว่าผู้ที่ได้รับห่างกันน้อยกว่า 6 สัปดาห์
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Thanathun.
วัคซีนชนิดสารพันธุกรรม หรือ เอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) วัคซีนกลุ่มนี้ ใช้เทคโนโลยีใหม่สังเคราะห์สารพันธุกรรมเอ็มอาร์เอ็นเอ (messenger RNA: mRNA) ที่เฉพาะเจาะจงกับเชื้อไวรัส จากข้อมูลในปัจจุบันวัคซีนชนิดนี้มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคได้ประมาณ 95% ป้องกันการป่วยรุนแรงและป้องกันการเสียชีวิตได้ 100% วัคซีนชนิดเชื้อตาย (Inactivated vaccine) วัคซีนกลุ่มนี้ผลิตโดยนําไวรัสโรคโควิด19 มาเลี้ยงขยายจํานวนมาก และนํามาทำให้เเชื้อตาย  การฉีดวัคซีนจะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสทุกส่วน เสมือนได้รับเชื้อไวรัสโดยตรงแต่ไม่ทำให้เกิดโรค เพราะเชื้อตายแล้ว มีประสิทธิภาพป้องกันอาการประมาณ 50-70% ป้องกันการเสียชีวิตได้ 100%
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Thanathun.
ผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีนครบ 2 เข็ม หรือผู้ที่มีผลการตรวจไม่พบเชื้อไม่เกิน 72 ชั่วโมง เดินทางเข้ามาเกาะสมุยได้โดยไม่ต้องกักตัว เป็นการผ่อนคลายสถานการณ์ และเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวให้กับเกาะสมุย
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Thanathun.
ผลข้างเคียง" ทั่วๆ ไป ประกอบด้วย อาการปวดบริเวณฉีดวัคซีน, อาการกดเจ็บเล็กน้อย, อ่อนเพลีย, ปวดหัว, ปวดกล้ามเนื้อ, หนาวสั่น และไข้ โดยการตอบสนองส่วนใหญ่นั้นเป็นอาการเล็กน้อย และหายได้ประมาณภายใน 1 วันหลังเข้ารับวัคซีน
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Thanathun.
อาการหลังได้รับวัคซีนแอสตร้า ถ้ามีไข้ หรือปวดเมื่อยมากทนไม่ไหว สามารถกินยาพาราเซตามอลขนาด 500 มิลลิกรัม ครั้งละหนึ่งเม็ดซ้ำได้ถ้าจำเป็นแต่ให้ห่าง 6 ชม. และห้ามกินยาพวก Brufen, Arcoxia, Celebrex เด็ดขาด
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
วัคซีนที่มีใช้ในประเทศไทย ในปัจจุบันนี้ มี 2 ชนิด คือ Sinovac และ AstraZeneca จากข้อมูลเบื้องต้นสามารถใช้ได้ทั้งสองชนิด แต่มีข้อสังเกตว่าวัคซีน Sinovac มีอัตราการเกิดไข้หลังการฉีดน้อยกว่า AstraZeneca วัคซีนทั้งสองชนิดมีความปลอดภัยในการฉีดให้คนทั่วไป และมีประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน ในอนาคตอาจจะมีวัคซีนชนิดอื่นๆ ให้เลือกเพิ่มขึ้น ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/society/2099965
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
วัคซีนที่มีใช้ในประเทศไทย ในปัจจุบันนี้ มี 2 ชนิด คือ Sinovac และ AstraZeneca จากข้อมูลเบื้องต้นสามารถใช้ได้ทั้งสองชนิด แต่มีข้อสังเกตว่าวัคซีน Sinovac มีอัตราการเกิดไข้หลังการฉีดน้อยกว่า AstraZeneca วัคซีนทั้งสองชนิดมีความปลอดภัยในการฉีดให้คนทั่วไป และมีประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกัน ในอนาคตอาจจะมีวัคซีนชนิดอื่นๆ ให้เลือกเพิ่มขึ้น ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/society/2099965
ใช้ใน 0 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Thanathun.
หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมลูกฉีดวัคซีน COVID-19 ได้ แต่ต้องพิจารณาตามความเสี่ยงหรือมีโรคประจำตัว โดยควรฉีดหลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
หญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคปอดเรื้อรังหอบหืดน้ำหนักตัวมากเกินเกณฑ์สำหรับช่วงเวลาที่แนะนำให้ฉีดวัคซีนคือช่วงหลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เป็นต้นไปและแนะนำให้ฉีดวัคซีน Sinovac ก่อนเนื่องจากผลิตจากเชื้อที่ตายแล้วในขณะที่ AstraZeneca เป็น viral vector vaccine มีโอกาสเกิดอาการใช้หลังฉีดได้มากแและมีรายงานการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหญิงที่อายุน้อยกว่า 30 ปี แต่พบน้อยมากสำหรับหญิงที่วางแผนจะตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตรสามารถรับการฉีดวัคขึ้นได้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป ที่มา : https://www.sanook.com/women/176873/
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
เนื่องจากเป็นวัคซีนใหม่ จึงยังมีข้อมูลในหญิงตั้งครรภ์ไม่มาก หลักการทั่วไปทางการให้วัคซีน เช่น วัคซีนเชื้อตาย สามารถให้ในหญิงตั้งครรภ์ได้ โดยเฉพาะในไตรมาส 2 และ 3 เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก การให้วัคซีนส่วนใหญ่จะแนะนาให้วัคซีนที่เป็นเชื้อตาย เช่น Sinovac (ตามทฤษฎีน่าจะให้ได้ แต่ยังไม่มีข้อมูลในหญิงตั้งครรภ์) ที่มีข้อมูลในสตรีตั้งครรภ์บ้าง คือ วัคซีนในกลุ่ม mRNA (Pfizer, Moderna) สำหรับหญิงให้นมบุตร สามารถฉีดได้ เพราะ ไม่ได้ถือเป็นข้อห้ามที่จะให้วัคซีน และเมื่อได้รับวัคซีนแล้วก็ไม่ต้องงดนมมารดาแต่อย่างใด ที่มา : https://www.nakornthon.com/article/detail/คลายข้อสงสัยวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Thanathun.
คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดเชียงใหม่ตามมติที่ประชุมครั้งที่ ๔๕/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ ดังนี้ ให้ปิดสถานที่ ดังต่อไปนี้ สถานบริการ สถานประกอบการที่มีลักษณะคล้ายกับสถานบริการ สถานบันเทิง ผับ บาร์ คาราโอเกะ สถานประกอบกิจการอาบน้ำ สถานประกอบกิจการอาบอบนวด โรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ โรงละคร โต๊ะสนุกเกอร์ บิลเลียด สถานที่เล่นโบว์ลิ่ง ร้านเกม ตู้เกม และร้านอินเทอร์เน็ต โรงเรียนสอนศิลปะการต่อสู้ ยิม ฟิตเนส หรือสถานที่ออกกำลังกายอื่นใดทำนองเดียวกัน สถานที่สักหรือเจาะผิวหนังหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย สถาบันลีลาศหรือสอนลีลาศ โรงเรียนสอนเต้นรำ
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
สุชัย เจริญมุขยนันท
เป็นข้อความจริงบางส่วน ผู้ป่วยโกรธที่ต้องกักตัวเพิ่ม อีก 7 วัน เนื่องจากเป็นสายพันธุ์อินเดียจริง แต่ออกไปเพียง 1 ชั่วโมงก็กลับมาโรงพยาบาล และ ผู้ป่วยหายจากโควิด 14 วันแล้ว แต่เนื่องจากเป็นสายพันธุ์อินเดีย สาธารณสุขจึงให้กักต่อให้เป็น 21 วัน เพื่อความมั่นใจ ปัจจุบันกรณีพักอยู่ที่โรงพยาบาลแล้ว 08 มิถุนายน 2564
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Thanathun.
สำหรับภาวะ VITT หรือ Vaccine-induced Immune Thrombotic Thrombocytopenia จะแสดงอาการหลังจากได้รับวัคซีนประมาณ 4-30 วัน โดยอุบัติการณ์ของภาวะดังกล่าวอยู่ที่ 1 : 125,000 – 1 : 1,000,000 ของผู้ได้รับวัคซีน ทั้งนี้ หากผู้ที่ได้รับวัคซีนโควิด-19 ไปแล้ว 4-30 วัน มีอาการปวดศีรษะรุนแรง แขนขาชาอ่อนแรง หน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด ชัก ตามัว เห็นภาพซ้อน เหนื่อยง่าย หายใจลำบากหรือติดขัด เจ็บแน่นหน้าอก ปวดท้องหรือปวดหลังรุนแรง ขาบวมแดง หรือ ซีด เย็น แนะนำให้เข้ารับการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุที่แท้จริง โดย สปสช. จะสนับสนุนค่าตรวจรวมทั้งค่ารักษาให้
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
รายงานระบุว่า ยาดังกล่าวอาศัยหลักการการควบคุมการแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม ที่เรียกว่า RNA interference (RNAi) โดยนักวิจัยนำมาพัฒนาต่อเป็นยีนส์ที่มีคุณลักษณะพิเศษกลายเป็นเทคโนโลยีหยุดยั้งลักษณะทางพันธุกรรมเป้าหมาย (gene-silencing RNA technology) เรียกว่า small-interfering RNA (siRNA) ซึ่งออกแบบมาให้เชื่อมต่อเข้ากับ RNA ของไวรัสก่อโรคโควิด-19 โดยเมื่อเชื่อมต่อกันแล้วจะกลายเป็นยีนส์ที่ส่งสัญญาณให้เซลล์ร่างกายทำลายสารพันธุกรรมดังกล่าวทันที ส่งผลให้ไวรัสไม่สามารถเพิ่มจำนวนได้ ที่มา : https://www.tnnthailand.com/news/covid19/80272/
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Thanathun.
โครงการเราชนะ" ทางธนาคารไม่มีนโยบายส่ง SMS ไปยังผู้ร่วมโครงการ รวมถึงไม่มีนโยบายส่ง SMS ไปยังลูกค้าเพื่อสอบถามข้อมูลส่วนตัวแต่อย่างใด หากท่านใดได้รับ SMS ในลักษณะนี้ ให้ตั้งข้อสังเกตว่าเป็น SMS ปลอม และไม่ควรกดลิงก์ไปที่เว็บไซต์ หรือ กรอกข้อมูลส่วนตัวโดยเด็ดขาด
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
CLAIM: Doctors in Russia violated a World Health Organization rule by performing autopsies on deceased COVID-19 bodies. They determined the illness is caused by bacteria — not a virus — and can be treated with antibiotics and aspirin. AP’S ASSESSMENT: False. Autopsies have been performed on patients who died of the disease since the early months of the pandemic. The WHO does not prohibit COVID-19 autopsies and even offers recommendations on how to safely handle those autopsies. There’s no doubt that the illness is caused by a virus, and medical experts say antibiotics and aspirin are not useful for treating COVID-19 infections. บทความจาก COVID is caused by a virus — and COVID autopsies do not ‘violate’ WHO rules By ARIJETA LAJKA April 8, 2021
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Thanathun.
The post was flagged as part of Facebook’s efforts to combat false news and misinformation on its News Feed. (Read more about our partnership with Facebook.) This post is wrong in a number of ways. First, the claim that COVID-19 is caused by bacteria is false. It is caused by a virus. COVID-19 is the World Health Organization’s official name for the disease caused by the virus known as severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (or SARS-CoV-2). บทความจาก COVID-19 is caused by a virus and autopsies do not violate WHO policies, as posts claim By Madison Czopek
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Thanathun.
ขณะนี้มิจฉาชีพ อาศัยช่องทางออนไลน์ ส่งข้อความให้กดลิงก์เข้าไปและกรอกข้อมูลส่วนตัวเพื่อความปลอดภัยของท่าน อย่าให้ข้อมูลส่วนตัว และไม่กดลิงค์โดยเด็ดขาด ข้อมูล : ตำรวจภูธรเมืองสงขลา
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Thanathun.
ไม่จริงครับ..
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Thanathun.
ไม่จริงครับ.. ข้อความแปลกๆไม่ว่าจะในเฟซหรือ SMS ส่วนใหญ่เป็นแก๊งเจ้าหนี้โหดหลอกให้เรากู้เงิน หรือไม่ก็ให้เรารับพัสดุแล้วจ่ายปลายทาง ล่าสุดเป็นกองทุนสวัสดิการเป๊ปซี่อะไรก็ไม่รู้ อย่ากดอย่ากรอกข้อมูลนะครับ
ใช้ใน 0 ข้อความ3 ปีที่แล้ว