2435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยคู่มรณะ อาหารกินคู่กันแล้วอันตราย จริงหรือไม่ด่วน...คู่มรณะ ผลการวิจัยล่าสุดของศาสตราจารย์ Mome Kaowa แห่งสถาบัน Manosatra พบว่า ...: !!!อ า ห า ร ที่ กิ น คู่ กั น . . . อั น ต ร า ย ! ! 1. กินทุเรียนกับ น้ำอัดลม ให้พิษร้าย มากกว่าพิษงูเห่า! 2. เต้าหู้กับน้ำผึ้ง ห้ามรับประทานด้วย กันจะทำให้หูหนวก ... 3. น้ำเต้าหู้ ห้ามใส่ น้ำตาลแดง จะทำให้ เสียวิตามิน 4. มันฝรั่งกับกล้วย ทุกชนิด ห้าม รับประทานรวมกัน จะทำให้หน้าเป็นฝ้า 5. หัวไชเท้ากับผลไม้ ทุกชนิด ห้าม รับประทานรวมกัน จะทำให้เกิดคอพอก 6. กล้วยกับเผือก ห้ามรับประทานด้วย กัน จะทำให้ท้องอืด 7. บวบ ซือกวย ไชเท้า ห้ามรับประทานวัน เดียวกัน จะทำให้เป็น เบาหวาน ทำให้เชื้อ อสุจิอ่อนไม่แข็งแรง 8. กล้วย+มะละกอ +แตงโม ห้าม รับประทานด้วยกัน จะทำให้เป็นโรคไตกับโรคเบาหวาน 9. มังคุดกับน้ำตาล กินรวมกันจะทำให้เสียชีวิต 10. ผักป๋วยเล้ง ห้าม รับประทาน กับเต้าหู้ จะทำให้เป็นนิ่วที่ไขสันหลัง 11. น้ำผึ้ง ห้ามชงด้วย น้ำที่ร้อนจะทำให้เสีย วิตามิน 12. ส้มกับมะนาว ห้าม รับประทานด้วยกัน จะทำให้กระเพาะทะลุ 13. ปลาทุกชนิด ห้ามต้มกับผักกาดดอง จะทำให้เป็นโรคมะเร็ง 14. ขิงดอง ห้ามเข้า ตู้เย็น กินแล้วจะเป็น โรค มะเร็ง 15. น้ำข้าว ห้ามใส่กับ นม จะทำให้เสียวิตามิน 16.น้ำเต้าหู้กับนมสด ห้ามใส่ไข่ เพราะจะทำ ให้ท้องผูกและเส้นเลือดตีบ 17. ถั่วลิสงกับฟักทอง ห้ามรับประทานรวม กัน จะทำให้ทำร้าย ร่างกายและลำไส้ อักเสบ 18. มันเทศกับลูกพลับ ห้ามรับประทานรวม กัน จะทำให้เกิดนิ่ว ในกระเพาะอาหาร 19. เหล้าขาวกับลูก พลับ ห้ามรับประทาน ด้วยกันจะทำให้เป็นพิษ 20. เหล้าขาวกับเบียร์ ห้ามรับประทานด้วย กัน จะทำให้เส้นเลือด ในสมองแตก 21. หัวไชเท้ากับเห็ด หูหนู ทั้งดำและขาว ห้ามรับประทารด้วย กัน จะเป็นโรคผิวหนัง * * มีนักท่องเที่ยว ชาวจีนวัยเพียง28ปี รายหนึ่ง ตอนมาเที่ยว เมืองไทยได้รับประทานทุเรียนไปจำนวนมาก หลังจากนั้นก็ดื่มน้ำอัดลม สารคาเฟอินในน้ำ อัดลมก่อให้เกิดความ ดันโลหิตสูงขึ้นอย่าง รวดเร็ว ทำให้หัวใจ วายอย่างเฉียบพลัน + + ประเทศไทย ได้ออกกฎอย่าง ชัดเจนไว้ว่า ภายใน 8 ชั่วโมงหลังจาก การรับประทานทุเรียน เป็นจำนวนมาก ห้ามดื่ม น้ำอัดลม เป็นอันขาด ! ! * ทุเรียนก่อให้เกิด แก๊สในกระเพาะสูงเลยทีเดียว ...เพื่อชาติอันเป็นที่รักยิ่งของเรา โปรดแชร์ด่วนเพื่อ ญาติมิตรและเพื่อนคนไทย🎃🍊🍏🍋🍎🍅🍓🍑🍐🍌🍉🍈🌽🍠🍆🍑🌶🍍🍦🍼ผู้บริโภคเฝ้าระวังMrs.Doubt• 4 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยหมอยง แจงประสิทธิภาพวัคซีนโควิด-19 ขึ้นกับพื้นที่ อย่ายึดติดที่ตัวเลข 2021-01-14 17:21:56 สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (14 ม.ค. 2564)--นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโควิด-19 ที่รัฐบาลจะนำเข้ามาฉีดให้ประชาชน ว่า การพิจารณาเรื่องประสิทธิภาพนั้นอย่าไปยึดติดที่ตัวเลข ขอให้ยึดความเป็นจริง เนื่องจากผลทดสอบในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน สำหรับวัคซีนของบริษัท ซิโนแว็กเทคโนโลยี จำกัด นั้น ทดสอบที่ตุรกีในบุคคลทั่วไปให้ประสิทธิภาพ 90%, อินโดนีเซียทดสอบในบุคคลทั่วไป 60% ขณะที่บราซิลทดสอบในบุคลากรทางแพทย์ที่มีความเสี่ยงสูงให้ประสิทธิภาพเหลือ 50% ซึ่งวัตถุประสงค์ของการผลิตวัคซีนมี 3 ประการ คือ 1.ฉีดแล้วป้องกันการติดเชื้อ 2.ฉีดแล้วติดเชื้อแล้วแต่ไม่เป็นโรค และ 3.ฉีดแล้วเป็นโรคแล้วไม่มีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิต "ตอนนี้ตลาดเป็นของผู้ขาย เพราะกำลังขาดแคลน ถ้าจะให้เลือกวัคซีนที่ดีที่สุดอาจซื้อไม่ได้ แต่องค์การอนามัยโลกบอกป้องกันได้เกิน 50% ก็ยอมรับได้ ถึงแม้เราอยากได้ที่ป้องกันถึง 100%" นพ.ยง กล่าว ตนเองคงไม่สามารถยืนยันได้ว่าผู้ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้วจะมีภูมิต้านทานได้นานแค่ไหน เพราะเป็นโรคอุบัติใหม่ อย่างกรณีวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส ที่ก่อนหน้านี้ระบุว่าฉีดเข็มเดียวป้องกันได้ตลอดชีวิต ตอนนี้ต้องฉีดเพิ่มอีกเข็ม และจากการศึกษาเชื้อไวรัสโควิด-19 พบการกลายพันธุ์มีน้อยกว่าไวรัสไข้หวัดใหญ่ประมาณสิบเท่า ซึ้งไม่กระทบต่อการผลิตวัคซีน "ถามว่าจะป้องกันได้กี่ปี นานแค่ไหน บอกได้เลยว่าไม่รู้ เพราะวัคซีนนำมาใช้แค่ 3-4 เดือน จะให้บอกว่าป้องกันนานแค่ไหน ไม่มีใครรู้ ต้องติดตามกันต่อไป ความรู้ใหม่จะเกิดขึ้น ถ้าฉีดแล้วยังติดเชื้อก็ต้องฉีดกระตุ้นใหม่ ซึ่งอาจจะอยู่ได้อีก 5 ปี" นพ.ยง กล่าว ส่วนการตัดสินใจว่าจะฉีดวัคซีนหรือไม่ขึ้นอยู่ความเสี่ยงของแต่ละคน เช่น ผู้ที่มีโรคประจำตัวหรือผู้สูงอายุจะมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตสูง โดยผู้ที่มีอายุเกิน 60 ปีมีโอกาสเสียชีวิต 3-4% ผู้ที่มีอายุเกิน 70 ปีมีโอกาสเสียชีวิต 10% และผู้ที่มีอายุเกิน 80 ปีมีโอกาสเสียชีวิต 20% แต่ถ้าเป็นผู้ที่อายุน้อยถึงจะติดเชื้อแต่ไม่แสดงอาการ ต่อไปโรคนี้อาจเป็นโรคไข้หวัดธรรมดาที่ติดต่อได้ง่ายในเด็กๆ แต่ติดเชื้อแล้วไม่มีอาการ ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันเอง แต่ไวรัสชนิดนี้จะไม่มีวันหายไปแต่จะมีวิวัฒนาการที่ไม่ทำให้เกิดอาการรุนแรง ปัจจุบันทั่วโลกมีการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ไปแล้วราว 30 ล้านโดส โดยเป็นวัคซีนชนิดเชื้อตายที่ฉีดในจีน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และบาห์เรน และวัคซีนชนิด mRNA ของไฟเซอร์ฯ ซึ่งช่วงเวลานี้เป็นโอกาสดีที่รัฐบาลจะเจรจานำวัคซีนที่มีใช้แล้วเข้ามาทดลองฉีดในประเทศไทยว่าจะมีการตอบสนองอย่างไร ตนเองได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเกี่ยวกับการฉีดวัคซีน มีผู้ตอบแบบสอบถามกลับมากว่า 3.3 หมื่นคน โดยประชาชนส่วนใหญ่มีความเชื่อมั่นที่จะรับการฉีดวัคซีน 55% มีผู้ที่ไม่ฉีด 5% เนื่องจากก่อนหน้านี้กระทรวงสาธารณสุขเกิดความกังวลว่าอาจสูญเสียงบประมาณไปเปล่าๆ หากมีการนำเข้าวัคซีนแล้วประชาชนไม่สนใจ นอกจากนี้ประชาชนส่วนใหญ่ยังให้ความเชื่อมั่นกับวัคซีนที่ผลิตจากประเทศแถบยุโรปและอเมริกามากกว่าวัคซีนที่ผลิตจากที่อื่น อย่างไรก็ตาม ขอให้ประชาชนยึดมั่นตามมาตรการชีวอนามัย เช่น สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย เว้นระยะห่าง ซึ่งตนเองมีประสบการณ์จากการลงพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร พร้อมกับผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขแล้วไม่ติดเชื้อหลังกักกันโรคครบกำหนดแล้ว --อินโฟเควสท์ โดย ธนวัฏ เสือแย้ม/รัชดา โทร.02-2535000 ต่อ 317 อีเมล์: rachada@infoquest.co.th--โควิด 2019ไม่ระบุชื่อ• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเลิกเชื่อข่าวเท็จ "ฟอกเลือด" ไม่ช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ ยืนยันหลอดเลือดสมองตีบไม่สามารถรักษาด้วยการฟอกเลือด การกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคจะลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ จากกรณีการแชร์ข้อมูลหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ เพราะไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่บอกว่าการฟอกเลือด และการกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคได้std47971• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยปลาร้าใช่ "โพรไบโอติก" หรือเปล่าถ้าอึไม่ออกต้องกินโพรไบโอติกเช่นพวกผักดอง ของดอง เลยสงสัยว่าปลาร้าก็ใช่ด้วยไหมสุขภาพภาคอีสานมีมAZ• 1 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยดื่มน้ำมากเกินไปทำให้แร่ธาตุในร่างกายเจือจางเพื่อนบอกว่าดื่มไปอาการจะเป็นอย่างงี้อาย• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยนมตราหมี ยาฆ่าพยาธิ และน้ำมันหอมระเหยในขณะที่ยอดผู้ติดเชื้อโรคโควิด-19 สายพันธุ์เดลตากำลังพุ่งสูงในอินโดนีเซีย ข้อมูลเท็จเกี่ยวการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแพร่สะพัดในโลกออนไลน์เพิ่มสูงเป็นเงาตามตัว โรงพยาบาลต่าง ๆ กำลังประสบปัญหาคนไข้ล้น และการขาดแคลนออกซิเจน ขณะที่ประชาชนต่างพยายามหาหนทางช่วยเหลือญาติพี่น้องและเพื่อนฝูงที่ล้มป่วยด้วยโควิด ทีมงานตรวจสอบความจริง "เรียลิตี เช็ก" ของบีบีซี จะพาไปดูข้อมูลเท็จต่าง ๆ ที่ถูกเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตในอินโดนีเซียขณะนี้มีมstd48025• 2 ปีที่แล้ว3 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยโควิด-19 : นมตราหมี ยาฆ่าพยาธิ และน้ำมันหอมระเหย กับข่าวปลอมการรักษาไวรัสในอินโดนีเซียในขณะที่ยอดผู้ติดเชื้อโรคโควิด-19 สายพันธุ์เดลตากำลังพุ่งสูงในอินโดนีเซีย ข้อมูลเท็จเกี่ยวการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแพร่สะพัดในโลกออนไลน์เพิ่มสูงเป็นเงาตามตัว โรงพยาบาลต่าง ๆ กำลังประสบปัญหาคนไข้ล้น และการขาดแคลนออกซิเจน ขณะที่ประชาชนต่างพยายามหาหนทางช่วยเหลือญาติพี่น้องและเพื่อนฝูงที่ล้มป่วยด้วยโควิดstd47630• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยดื่มเเอลกอฮอล์เเล้วจะไม่ติดโควิดถ้าดื่นเเอลกอฮอล์ในทุกๆวันจะป้องกันเชื่อโควิด19 เเละยังให้ผลดีกว่าการออกกำลังกายโควิด 2019Chayada Sakulpak• 2 ปีที่แล้ว2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัย: นมตราหมี รักษาไวรัสในอินโดนีเซียภาพวิดีโอหลายชิ้นที่เผยให้เห็นคนอินโดนีเซียแห่กันไปซื้อนมสดตราหมีกำลังได้รับความสนใจอย่างมาก กรณีนี้เกิดขึ้นหลังจากมีคำกล่าวอ้างทางโซเชียลมีเดียและกลุ่มสนทนาทางวอตส์แอปป์ (WhatsApp) ว่าการดื่มนมสดยี่ห้อนี้อาจช่วยสร้างแอนติบอดี หรือสารภูมิต้านทานโควิดได้โควิด 2019std47800• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยนมตราหมีรักษาโควิดมีคำกล่าวอ้างทางโซเชียลมีเดียและกลุ่มสนทนาทางวอตส์แอปป์ (WhatsApp) ว่าการดื่มนมสดยี่ห้อนี้อาจช่วยสร้างแอนติบอดี หรือสารภูมิต้านทานโควิดได้std47901• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโควิด-19 : นมตราหมี ยาฆ่าพยาธิ และน้ำมันหอมระเหย กับข่าวปลอมการรักษาไวรัสในอินโดนีเซียในขณะที่ยอดผู้ติดเชื้อโรคโควิด-19 สายพันธุ์เดลตากำลังพุ่งสูงในอินโดนีเซีย ข้อมูลเท็จเกี่ยวการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแพร่สะพัดในโลกออนไลน์เพิ่มสูงเป็นเงาตามตัว โรงพยาบาลต่าง ๆ กำลังประสบปัญหาคนไข้ล้น และการขาดแคลนออกซิเจน ขณะที่ประชาชนต่างพยายามหาหนทางช่วยเหลือญาติพี่น้องและเพื่อนฝูงที่ล้มป่วยด้วยโควิด ทีมงานตรวจสอบความจริง "เรียลิตี เช็ก" ของบีบีซี จะพาไปดูข้อมูลเท็จต่าง ๆ ที่ถูกเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตในอินโดนีเซียขณะนี้std48851• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยาลดน้ำหนักโทษของยาลดน้ำหนักปัจจุบันโรคอ้วนเป็นปัญหาอย่างมากในประเทศที่พัฒนาแล้ว รวมทั้งประเทศไทย โดยโรคอ้วนเป็นโรคเรื้อรังที่อาจเป็นสาเหตุสำคัญให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา เช่น โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานหรือโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น ดังนั้นโรคอ้วนจึงจำเป็นต้องได้รับการรักษา ซึ่งการรักษาสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การใช้ยารักษา และการผ่าตัด ในปัจจุบันพบว่าการนำยาลดความอ้วนไปใช้ในทางที่ผิดมีมากขึ้น เนื่องจากผู้ป่วยได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องจากสื่อต่างๆ และการซื้อยาลดความอ้วนสามารถหาซื้อเองได้ง่าย โดยไม่ได้มีการแนะนำจากแพทย์หรือเภสัชกรที่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับผลข้างเคียงที่รุนแรงจากการใช้ยา โดยจากการสำรวจของกองควบคุมวัตถุเสพติด พบว่ายาชุดลดความอ้วนมักจะประกอบไปด้วยยาหลายชนิดเพื่อช่วยเสริมผลในการลดน้ำหนัก ซึ่งจัดไว้เป็นชุดให้รับประทานเหมือนกันในแต่ละวัน โดยยาชุดลดความอ้วนจะประกอบไปด้วยยาประมาณ 1-7 รายการdiazp121phoenix• 3 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัย“หลอกให้รับเงินคืนโดยสแกน QR Code – หลอกให้ใช้สินเชื่อเพื่อแลกรับเงินสดคืน – หลอกให้ติดตั้งแอปฯ”“หลอกให้รับเงินคืนโดยสแกน QR Code – หลอกให้ใช้สินเชื่อเพื่อแลกรับเงินสดคืน – หลอกให้ติดตั้งแอปฯ”Mrs.Doubt• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวดี ม.อ. เปิดตัว โควิด 19 rapid test สามารถรู้ผลได้ภายใน 15 นาทีม.อ. พัฒนาชุดทดสอบ PSU COVID-19 Rapid Test เพื่อตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่มีประสิทธิภาพ รู้ผลการตรวจภายในเวลา 15-20 นาที ลดเสี่ยงบุคลากรทางการแพทย์โควิด 2019naydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยน้ำมันเบนซินถอนพิษจากแมลงกัดต่อยได้น้ำมันเบนซินถอนพิษจากแมลงกัดต่อยได้ ใช้น้ำมันเบนซินทาบริเวณที่โดนตะขาบ หรือแมลงทุกชนิดกัดต่อย เพราะสารระเหยในน้ำมันเบนซิน จะทำการดูดพิษให้หาย ภายใน 3-5 นาที ไม่มีการเจ็บ การบวมteeraphat13281• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยาทาเล็บเคลืบฟันเป็นอันตรายต่อช่องปากไหมไม่ควรใช้ยาทาเล็บทาเคลือบฟัน เพราะเป็นการนำผลิตภัณฑ์ทาเล็บไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ โดยการนำไปทาที่ผิวฟันซึ่งเป็นบริเวณภายในช่องปาก เยื่อบุอ่อน นั้นเสี่ยงต่อการกลืนกิน และดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย จะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้std47756• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยวางมือถือไว้หัวนอน ทำให้เป็นมะเร็งสมองตามที่มีการโพสต์และแชร์ กรณีวางโทรศัพท์มือถือไว้หัวนอน ทำให้เป็นมะเร็งสมอง ทางกรมการแพทย์ ตรวจสอบแล้วพบว่าข้อมูลดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ ยังไม่มีหลักฐานชัดเจนที่แสดงว่าทำให้เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งสมองทั้งในผู้ใหญ่และเด็กสุขภาพผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47766• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสระผมก่อนอาบน้ำอาจทำให้เส้นเลือดแตกไม่ควรสระผมก่อนอาบน้ำและควรล้างส่วนอื่นๆของร่างกายก่อนเนื่องจากศีรษะเปียกและเย็นเลือดจะไหลไปที่ศีรษะเพื่อให้ร่างกายอบอุ่น หากหลอดเลือดแคบลงก็มีโอกาสแตกได้std47924• 2 ปีที่แล้วmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจับมือป่วนชิบช็อปใช้’ เป็นยุวชนฐานคะแนนของพรรคการเมืองดัง ข่าวปลอม!! สร้างความปั่นป่วน อย่าแชร์ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับกรณีที่มีผู้เผยแพร่ข้อความในสื่อออนไลน์ กรณีจับมือป่วนชิบช็อปใช้ เป็นยุวชนฐานคะแนนของพรรคการเมืองดัง นั้นทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องข่าวการเมือง เสียดสีakkarawin.keawsuwan• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยจับมือป่วนชิบช็อปใช้’ เป็นยุวชนฐานคะแนนของพรรคการเมืองดัง ข่าวปลอม!! สร้างความปั่นป่วน อย่าแชร์ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับกรณีที่มีผู้เผยแพร่ข้อความในสื่อออนไลน์ กรณีจับมือป่วนชิบช็อปใช้ เป็นยุวชนฐานคะแนนของพรรคการเมืองดัง นั้นทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบว่า ข้อมูลที่ปรากฏตามสื่อดังกล่าวนั้น เป็น ข้อมูลเท็จข่าวการเมือง เสียดสีTotothaniratn• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยครีมขาวเร็วครีมทาแล้วผิวขาวใน3วันความสวยความงามstd48360• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันครีมทาจมูกช่วยให้โด่งได้ภายใน 7 วัน ไม่เป็นความจริงstd47619• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม! ครีมทาจมูกช่วยให้โด่งได้ภายใน 7 วัน ไม่เป็นความจริงกรณีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีม หรือเซรั่มที่ระบุสรรพคุณ สามารถช่วยทำให้จมูกโด่ง ได้ภายใน 7 วันนั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่า ไม่มีครีม หรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่งภายใน 7 วัน ได้จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นเพียงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ภายนอกเพื่อทำความสะอาด สวยงามแต่งกลิ่นหอมเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้Kanklow Chumpinit• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร CO-U1 รักษาโรคโควิด เพิ่มภูมิต้านทานตามที่มีข้อความแนะนำปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร CO-U1 รักษาโรคโควิด เพิ่มภูมิต้านทาน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จmairu• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเล็บเหลืองเป็นสัญญาณเตือนของโรคเบาหวาน โรคปอด และโรคไทรอยด์เล็บเหลืองเป็นสัญญาณเตือนของโรคเบาหวาน โรคปอด และโรคไทรอยด์std48329• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ