13254 ข้อความ
- 1 คนสงสัยรับประทาน“เนื้อแดง”ในปริมาณมากเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งลำไส้จริงหรือไม่ ?การรับประทานเนื้อแดงมีคุณค่าทางโภชนาการสูง โดยเป็นแหล่งสำคัญของโปรตีน สังกะสี เหล็ก และวิตามิน หากบริโภคเนื้อแดงในปริมาณมากเกินไป จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ โดยเฉพาะเนื้อแดงแปรรูป เช่น ไส้กรอกและเบคอน (ข้อมูลจากเว็บไซต์ https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Red-Meat) มีการรายงานว่าการกินเนื้อแดงและเนื้อแปรรูปในปริมาณที่มากขึ้นจะเพิ่มความเสี่ยงการเป็นมะเร็งลำไส้ โดยที่เนื้อแดงแปรรูป จัดเป็นกลุ่มของสารก่อมะเร็งเดียวกันกับบุหรี่ แต่ไม่ได้มีอันตรายเท่ากับสารเหล่านี้ ส่วน เนื้อแดง เป็นกลุ่ม 2A คือ กลุ่มสามารถก่อมะเร็งในตัวมนุษย์ (ข้อมูลจากเว็บไซต์ https://thaicancersociety.com/does-meat-cause-cancer/) จากการสัมภาษณ์ อ.ดร.นิจฉรา ทูลธรรม อาจารย์ประจำคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ให้ข้อมูลว่า “อาหารที่ทำมาจากเนื้อแดงและเนื้อแปรรูป ถ้านำมาใช้ไฟในการทำอาหาร เช่น ปิ้ง ย่าง ทอด ต้ม ลวก หากรับประทานมากเกินไปจะเพิ่มความเสี่ยงต่อ การเกิดมะเร็งลำไส้ ได้แต่ก็ยังสามารถรับประทานเนื้อแดงได้ แต่ให้จำกัดปริมาณการรับประทาน” (สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2567) ทั้งนี้ อ.ดร.นิจฉรา ทูลธรรม ได้ให้คำแนะนำในการรับประทานสัตว์เนื้อแดง ดังกล่าวว่า ควรรับประทานเนื้อแดงไม่เกินสัปดาห์ละ 500 กรัม ควรรับประทานเนื้อแดงแปรรูปไม่เกินวันละ 50 กรัม ดังนั้น ไม่ควรงดรับประทานเนื้อแดงแต่ควรรับประทานในปริมาณที่แนะนำเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง และ รับประทานโปรตีนจากแหล่งอื่นเพิ่มเติม เช่น ไข่ เต้าหู้ และถั่ว รวมทั้งการรับประทานอาหารให้มีความหลากหลายมากขึ้นสุขภาพมะเร็งtenboomz123456• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยฝรั่งเอาเงาะไปวิเคราะห์พบว่ามีสารที่เปนประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าที่คิด โดยเฉพาะพบว่ามีวิตามินชีสูงมากแค่ลูกเดียวก็พอกับความต้องการพี้นฐานของร่างกาย และความหวานของมันไม่มีผลต่อน้ำตาลในเลือดอย่างที่คิดแฮะ ที่สำคัญมันมีแมงกานีสเยอะชึ่งช่วยในการสร้างกระดูกด้วย มีอีกเพียบฟังเองแล้วกันค่ะ https://youtu.be/IQqGDDkIKXM?si=_FDAVadghLjU0PYSไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเข้าวัด ฟังธรรม นั่งสมาธิ รักษาโรคซึมเศร้าได้จริงหรือไม่ภาวะซึมเศร้าเป็นสภาวะทางอารมณ์ที่ซับซ้อนและมีระดับความรุนแรงที่แตกต่างกันไป การเข้าใจความแตกต่างระหว่างภาวะซึมเศร้ากับความเครียดทั่วไปจึงเป็นสิ่งสำคัญ ภาวะเครียดที่เกิดจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน เช่น การอกหัก อาจทำให้เกิดความรู้สึกเศร้าและเบื่อหน่ายได้ชั่วคราว แต่โดยทั่วไปแล้วอาการเหล่านี้จะค่อยๆ ทุเลาลงเมื่อเวลาผ่านไป และสามารถจัดการได้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การทำกิจกรรมที่ตนเองชอบ การพูดคุยกับผู้อื่น หรือการฝึกสติ อย่างไรก็ตาม ภาวะซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่มีเกณฑ์การวินิจฉัยที่ชัดเจน โดยผู้ป่วยจะต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการจาก 9 อาการหลัก เช่น อารมณ์เศร้า เบื่อหน่าย การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินและการนอนหลับ ความรู้สึกผิดหวังกับตนเอง และความคิดอยากทำร้ายตนเอง เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ภาวะซึมเศร้าสามารถแบ่งและการประเมินระดับความรุนแรงของอาการ การประเมินอาการซึมเศร้าจะช่วยให้ทราบว่าอาการของแต่ละบุคคลรุนแรงมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะส่งผลต่อการเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสม โดยทั่วไปแล้ว อาการซึมเศร้าจะถูกแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับน้อย: ผู้ป่วยจะมีอาการบางส่วนที่ตรงตามเกณฑ์การวินิจฉัย แต่ยังสามารถทำงานและดำเนินชีวิตประจำวันได้ ระดับปานกลาง: ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากขึ้น ทำให้การทำงานและการเข้าสังคมเป็นไปด้วยความยากลำบาก ระดับรุนแรง: ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากที่สุด อาจมีอาการหลงผิด ประสาทหลอน และมีความคิดทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น การรักษาเศร้าเล็กน้อย ปานกลาง และรุนแรง ซึ่งแต่ละระดับจะมีความรุนแรงของอาการและผลกระทบต่อชีวิตประจำวันแตกต่างกันไป สำหรับผู้ที่มีอาการซึมเศร้าระดับเบาถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการฝึกสติอาจช่วยบรรเทาอาการได้ เช่น การออกกำลังกายเป็นประจำ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนให้เพียงพอ และการฝึกการรับรู้ถึงความรู้สึกในปัจจุบัน ในพาร์ทของ การให้คำปรึกษาและการทำจิตบำบัดนั้น มีหลากหลายแนวทางที่แตกต่างกันออกไป หนึ่งในแนวทางที่น่าสนใจคือ การให้คำปรึกษาที่อิงหลักการใช้สติ (Mindfulness-based therapy) ซึ่งเป็นการนำหลักการของการฝึกสติและสมาธิมาประยุกต์ใช้ในการช่วยเหลือคนไข้ อย่างไรก็ตาม การให้คำปรึกษาที่เน้นใช้สติบำบัดนี้เป็นเพียงหนึ่งในทางเลือกที่หลากหลายเท่านั้น อย่างไรก็ตาม หากอาการซึมเศร้ามีความรุนแรงมากขึ้น การใช้ยาภายใต้การดูแลของแพทย์และการเข้ารับการบำบัดทางจิตวิทยาเป็นสิ่งจำเป็น โดยการรักษาภาวะซึมเศร้าขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการและปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง วิธีการรักษาที่พบบ่อย ได้แก่ การใช้ยา: ยาต้านเศร้าช่วยปรับสมดุลสารเคมีในสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคซึมเศร้า การทำจิตบำบัด: ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจและจัดการกับความคิดและอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม: เช่น การออกกำลังกาย การทำกิจกรรมที่ตนเองสนใจ การปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต การให้คำปรึกษา: การพูดคุยกับนักจิตวิทยาหรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเพื่อรับฟังปัญหาและหาแนวทางแก้ไข สำหรับผู้ที่กำลังประสบปัญหาภาวะซึมเศร้า ขั้นตอนแรกที่สำคัญคือการประเมินระดับความรุนแรงของอาการ เพื่อให้สามารถวางแผนการรักษาที่เหมาะสมได้ ปัจจุบันมีเครื่องมือประเมินอาการซึมเศร้าออนไลน์มากมายที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ผู้ที่สงสัยว่าตนเองอาจมีอาการซึมเศร้าสามารถทำแบบประเมินเหล่านี้เบื้องต้นได้ และหากผลออกมามีปัญหาสามารถติดต่อเครือข่ายสำหรับนักศึกษา มมส สามารถติดต่อขอรับคำปรึกษาได้ที่เครือข่ายสุขภาพจิตมมสเบอร์ 0850104544 หรือสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ซึ่งมีบริการตลอด 24 ชั่วโมงโดยนักจิตวิทยา แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรจะพบจิตแพทย์ ที่คลีนิคสุขภาพจิต โรงพยาบาลสุทธาเวช ภาวะซึมเศร้าเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถกลับมามีชีวิตที่ปกติสุขได้อีกครั้ง การสังเกตอาการของตนเองและการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเมื่อมีอาการที่น่าสงสัย เป็นสิ่งสำคัญในการรักษาโรคซึมเศร้าสุขภาพ65011215023• 1 เดือนที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเราสามารถใช้ธูปจี้ที่หูดเพื่อรักษาได้ด้วยหรอคะ ?พบคนแชร์วิธีรักษาหูดด้วยการจี้รักษาหูดด้วยธูป เขากล่าวว่า เป็นวิธีที่รักษาได้ง่าย ๆ ฉบับคุณแม่สุขภาพYotsawan Suksom• 1 เดือนที่แล้ว3 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยประกาศปิดการเข้าศึกษาธรรมชาติ และท่องเที่ยวในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ตั้งแต่วันที่ 22 ต.ค. 67 เป็นต้นไปไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจองคิวผ่านแอปฯ DLT Smart Queue และเว็บไซต์ ต้องยืนยันตัวตนก่อนเข้าระบบจองคิว เริ่ม 1 พ.ย. 67ไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยนิคมอุตสาหกรรมอมตะ ชลบุรี ปิดกั้นถนน แจ้งว่าเป็นพื้นที่ส่วนบุคคล ห้ามชาวบ้านสัญจรภาคตะวันออกKANTA• 1 เดือนที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยชาเขียวช่วยลดน้ำหนักได้จริงไหมเนื่องจากได้เห็นมาจากคลิปบนหลาย ๆ แพลตฟอร์มที่ทำการรีวิวชาเขียวลดน้ำหนัก อีกทั้งเชิญชวนและมีการโฆษณาให้ลองทาน มีเพียงแค่การบอกสรรพคุณคร่าว ๆ ไม่ได้บอกถึงข้อควรระวังไว้ด้วย อยากทราบว่าชาเขียวนั้นสามารถช่วยในการลดน้ำหนักได้จริงหรือไม่สุขภาพลดความอ้วน• 1 เดือนที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยวันนี้เป็นวันแรก ของการบังคับใช้กฎหมาย เมาแล้วขับ ปรับ 1 หมื่น ถึง 2 หมื่นบาท คุก 1 เดือน ไม่รอลงอาญา ไม่บำเพ็ญประโยชน์ แปลว่า... เป่าเจอ ไปติดคุกเลย ฝากทุกท่าน ในกลุ่มประชาสัมพันธ์ด้วยนะครับผู้บริโภคเฝ้าระวังมีม เสียดสีไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยาพาราเซตามอลกินดักไข้เสี่ยงอันตรายจริงหรือไม่?เราพบเห็นคลิปจากช่องทาง เลมอน8 ที่เล่าเกี่ยวกับกินยาดักไข้ อันตรายกว่าที่คิด และเพื่อนก็เคยทำ จึงเกิดความสงสัยว่าทำไมคนเราทำกัน นั้นทำให้เราอยากรู้ว่าการกินยาพาราเซตามอลเพื่อดักไข้ ทำได้จริงหรือไม่ เป็นทางเลือกที่ปลอดภัยหรือแค่ความเชื่อที่อาจเป็นอันตรายกับสุขภาพเราสุขภาพfapathan• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยน้ำมันมะพร้าวช่วยรักษาและลดความเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจเราพบเห็นคลิปจากช่องทางติ๊กตอก และโพสต์จากเพจเฟซบุ๊คที่เล่าเกี่ยวกับกินน้ำมันมะพร้าว โดยอ้างสรรพคุณว่ามีน้ำมันมะพร้าวช่วยรักษาและลดความเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจ จึงเกิดความสงสัยว่าสรรพคุณที่เล่าถึงนั้น ทำได้จริงหรือไม่เพื่อเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยหรือแค่ความเชื่อที่อาจเป็นอันตรายกับสุขภาพเราสุขภาพ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเตือนภัย!!! มิจฉาชีพแอบอ้างนำรูปภาพบริษัทไปโพสต์รับสมัครงาน• มิจฉาชีพได้ใช้เฟซบุ๊กชื่อ..ที่มีการนำภาพบริษัทแห่งหนึ่ง ไปโพสต์ในกลุ่มรับสมัครงานต่าง ๆ และมีบุคคลที่สนใจเข้าไปคอมเม้นท์เพื่อที่จะสมัครงานจำนวนมาก จากนั้นมิจฉาชีพได้ตอบกลับคอมเม้นท์และส่งลิงก์เพื่อให้พูดคุยในช่องแชทส่วนตัว ซึ่งลักษณะดังกล่าวอาจเป็นมิจฉาชีพออนไลน์ที่แฝงตัวมา • กองบังคับการสืบสวอาชญากรรมทางเทคโนโลยี 3 ให้คำแนะนำว่า “ควรหาข้อมูลให้ดีก่อนที่จะสมัครงาน เพราะบางโรงงานไม่มีนโยบาย ที่จะเปิดรับสมัครงานผ่าน Facebook และให้ส่งเอกสารต่าง ๆ ทางช่องแชท ทางที่ดีควรติดต่อสอบถามกับทางโรงงานโดยตรง และเข้าไปยื่นเอกสารที่โรงงานเท่านั้น” ถ้าหากติดต่อผ่าน Facebook ควรตรวจสอบให้ดีว่าโพสต์นั้นเป็นของโรงงานจริง ๆ ระบุข้อมูลที่อยู่ชัดเจนหรือไม่ • ถ้าหากตกเป็นเหยื่อ เก็บรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ข้อความสนทนาทางแชท เพื่อดำเนินการแจ้งความที่สถานีตำรวจในท้องที่ที่เกิดเหตุแจ้งรายละเอียดเรื่องราวทั้งหมด และขอใบแจ้งความไว้เป็นหลักฐาน หรือ สามารถแจ้งความผ่านระบบรับแจ้งความออนไลน์ ที่เว็บไซต์ www.thaipoliceonline.go.th หากมีข้อสงสัย สามารถโทรปรึกษาสายด่วน 1441 ได้ตลอด 24 ชั่วโมงการเงินผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมKittisak Lamomprom• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ ถังสารเคมีระเบิด ในโรงงานที่กบินทร์บุรีภาคตะวันออกKANTA• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยน้ำมันมะพร้าวช่วยรักษาโรคหัวใจได้สุขภาพ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยรายชื่อ 42 จังหวัด ลดเงินสมทบประกันสังคม ม.33 และ ม.39 เหลือ 283 บาท ถึง มี.ค. 68การเงินไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกินได้ "องุ่นไชน์มัสแคท" อย.แนะล้างให้ถูกวิธีเพื่อลดสารตกค้างผู้บริโภคเฝ้าระวังไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยรีบซักเสื้อกันหนาว! กรมอุตุฯ ประกาศเมืองไทย เข้าสู่ฤดูหนาว 29ต.ค.อุณหภูมิต่ำ6-8 องศาสภาพอากาศไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวการเมืองการเงินไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสุขภาพไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยhttps://vt.tiktok.com/ZSjRwdkbC/ไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมีมไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้บริโภคเฝ้าระวังไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยร้านรับซื้อของเก่าจังหวัดปราจีนบุรี เกิดระเบิดไฟไหม้ภาคตะวันออกKANTA• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยผู้บริโภคเฝ้าระวังไม่ระบุชื่อ• 1 เดือนที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยWI-FI สาธารณะอันตรายจริงหรือไม่?WI-FI สาธารณะถือว่าสามารถพบเห็นได้ทั่วไปและสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบายเพียงแค่ไม่กี่คลิกแต่ภัยร้ายที่แฝงมากับ WI-FI สาธารณะนั้นก็มีมากพอๆกับความสะดวกสบายที่ได้รับ จากการสัมภาษณ์ ผศ.ดร.วุฒิชัย วิเชียรไชย อาจารย์สังกัดภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ข้อมูลว่าการใช้ WI-FI สาธารณะมีความเสี่ยงต่อการโดนขโมยข้อมูลสูงมากและยังสามารถทำได้หลายวิธีไม่ว่าจะเป็นการเข้ามาแทรกกลางระหว่างผู้ใช้กับเครื่อข่าย (man in the middle) ที่จะเป็นการดักจับข้อมูลของเหยื่อโดยอาศัย WI-FI สาธารณะเป็นตัวกลาง หรือจะเป็นการปล่อย WI-FI ปลอมโดยการแอบอ้างเป็น WI-FI สาธารณะเพื่อให้เหยื่อหลงเข้ามาใช้และด้วยวิธีการเหล่านี้ทำให้มิจฉาชีพสามารถล่วงเอาข้อมูลต่างๆของเราเช่น รหัส ATM หรือข้อมูลส่วนตัวอื่นๆของเราได้ ซึ่ง ผศ.ดร.วุฒิชัย วิเชียรไชย ได้ให้ข้อแนะนำในการใช้ WI-FI สาธารณะว่า 1 ไม่ทำธุรกรรมทางการเงินระหว่างเชื่อมต่อ WI-FI สาธารณะ 2 เข้าเว็บไซต์ที่ได้มาตรฐานเช่นเว็บไซต์ที่ขึ้นต้นด้วย https เนื่องจากมีระบบป้องกันการแฮกทำให้แฮกเกอร์ล่วงข้อมูลได้ยากขึ้น 3 อัพเดทแอพพลิเคชั่นให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นแอพธนาคารหรือแอพต่างๆเมื่อมีการอัพเดทโปรแกรมเมอร์มักจะใส่หรือพัฒนาระบบป้องการการแฮกเข้ามาด้วยทุกครั้ง ทั้งนี้แม้ว่า WI-FI สาธารจะมีความเสี่ยงต่อการโดนแฮกข้อมูลแต่ด้วยเทคโนโลยีรักษาความปลอดภัยในปัจจุบันทำให้การโดนแฮกข้อมูลเป็นไปได้ยากมาขึ้นแต่ถึงอย่างนั้นการระมัดระวังตัวเรื่องการใช้ WI-FI สาธารณะก็เป็นเรื่องที่ควรคำนึงถึงตลอดเวลา (ข้อมูลจาก 9arm) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการใช้ WI-FI สาธารณะมีความอันตรายจริงแต่ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้ความอันตรายจาก WI-FI สาธารณะลดลงเป็นอย่างมากแต่ถึงอย่างนั้นตัวผู้ใช้ก็ควรระมัดระวังเรื่องการใช้เครื่อข่าย WI-FI สาธารณะอยู่เสมอผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมflukerattanin• 1 เดือนที่แล้วmeter: true1 ความเห็น