13434 ข้อความ
- 2 คนสงสัยครีมครีมทาหน้าขาวstd48453• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยคปภ.เตือนอย่าเชื่อ-แชร์ “ข้อมูล Blacklist บริษัทประกันภัยสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กล่าวถึงกรณีที่มีกระแสข่าวและการส่งต่อข้อความเกี่ยวกับรายชื่อบริษัทประกันวินาศภัยที่ถูก Blacklist เกี่ยวกับสถานะทางการเงินและการไม่ปฏิบัติตามสัญญาประกันภัย ผ่านทางแอพพลิเคชันไลน์นั้นAungvara Moungngam• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยยาเร่งขาวเด็กหญิงวัย 19 ปี ไปตรวจสุขภาพ เพื่อเตรียมก่อนเข้าเรียนคณะเภสัช แต่ผลตรวจกลับพบสาร ”เมทแอมเฟตามีน” (สารในยาบ้า) ในปัสสาวะ ไม่ผ่านการตรวจโรคเข้าเรียน คาดผสมมาในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อผิวขาวที่ซื้อมากินจากอินเตอร์เน็ตนั้น ล่าสุด ตัวแทนบริษัทอาหารเสริมผิวขาวได้ติดต่อมาพูดคุยกับแม่ผู้เสียหาย ยืนยันว่า ไม่มีทางใส่สาร"เมทแอมเฟตามีน"ในผลิตภัณฑ์อย่างแน่นอน คาดว่า ตัวยาที่เด็กกินเข้าไป เป็นของปลอมที่ทำเลียนแบบ และนำมาวางขาย อยากให้ส่งมาให้ทางบริษัทตรวจสอบเพื่อความชัดเจน ขณะที่ ทีมข่าวสอบถามอาจารย์วีรชัย พุทธวงศ์ อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดเผยว่าในกรณี มีข้อน่าสงสัยอยู่ 2 อย่างยาสมุนไพรstd46410• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยแก้โรคความดันโลหิตสูง แค่กำมือ – แบมือความดันโลหิตสูงแก้ได้โดยการกำมือ-แบมือ กับโรงพยาบาลชอบ ชาเขียว• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย.ยัน ยาแก้หวัดอินเดียที่พบสารปนเปื้อน ไม่มีจำหน่ายในไทยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ตรวจสอบแล้ว ยาแก้หวัดอินเดียที่ตรวจพบสารปนเปื้อนวัตถุห้ามใช้ในอาหาร ไม่พบการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ยาดังกล่าวในประเทศไทย และไม่พบข้อมูลการขายบนอินเทอร์เน็ต พร้อมมีมาตรการกำกับดูแลผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายในประเทศอย่างเข้มงวด และดำเนินการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องต่อไป นายแพทย์สรุโชค ต่างวิวัฒน์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า กรณีที่มีข่าวเด็กในอินโดนีเซียเกิดไตวายเฉียบพลัน หลังรับประทานยาน้ำเชื่อมพาราเซตามอลที่ผลิตในอินเดียอย. เพิกถอนstd46414• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยใส่หน้ากากนานเลือดเป็นกรดจริงหรือไม่หลังจากมีข่าวออกมาว่าทั่วโลกโซเชียลว่า ใส่หน้ากากนาน ๆ จะทำให้ภาวะเลือดเป็นกรด เนื่องจากการใส่หน้ากากอนามัยจะทำให้เราหายใจเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่หายใจออกมากลับเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งจะทำให้ร่างกายขาดออกซิเจนJidapha Petlim• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยบุกทลายเครื่องสำอางเถื่อน ผงะครีมปลอม กวนเอง ส่งขายต่างจังหวัด นาน 4 ปีเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564 พล.ต.ต.ณัฐศักดิ์ เชาวนาศัย ผบก.ปคบ. พ.ต.อ.สำเริง อำพรรทอง พ.ต.อ.ศารุติ แขวงโสภา พ.ต.อ.ศรีศักดิ์ คัมภีรญาณ พ.ต.อ.ชนันนัทธ์ สารถวัลย์แพศย์ รอง ผบก.ปคบ. พ.ต.อ.เนติ วงษ์กุหลาบ ผกก.4 บก.ปคบ. พร้อม นพ.ไพศาล ดั่นคุ้ม เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ภญ.สุภัทรา บุญเสริม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นำหมายค้นเข้าค้นบ้านเลขที่ 2708 พระราม 2 ซอย 47 แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ หลังรับแจ้งว่าเป็นแหล่งผลิตเครื่องสำอางเถื่อน และจำหน่ายเครื่องสำอางโดยไม่ได้รับอนุญาตความสวยความงามยาสมุนไพรอย. เพิกถอนstd46341• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยจะไปเลือกตั้งต้องฉีดวัคซีนด้วยสังคมฝ่ายการเมือง กล่าวว่า ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ไปเลือกตั้งนายกและสมาชิกสภา อบต. วันที่ 28 พ.ย. 64 ต้องฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 แล้ว ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทาง สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จMiki Chan• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโกโก้ ซอยโปรตีน เพิ่มสูง ไม่ต้องพึ่งหมอมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโกโก้ ซอยโปรตีน เพิ่มสูง ไม่ต้องพึ่งหมอ ตามสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงถึงประเด็นนี้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวขออนุญาตเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ในชื่อ แคลเซียมโกโก้ ซอยโปรตีน (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)/Calcium Cocoa Soy Protein (Dietary Supplement Product) เลข อย. 13-1-14959-5-1456 ซึ่งในการยื่นขออนุญาตไม่มีการยื่นข้อมูลประสิทธิผลในการเพิ่มความสูงตามที่กล่าวอ้างแต่อย่างใด ซึ่งผลิตภัณฑ์เสริมอาหารนั้นไม่มีผลในการบำบัด บรรเทา หรือรักษาโรค และต้องแสดงคำเตือนดังกล่าวบนฉลากstd46769• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยธ. ออมสินเปิดเพจ สินเชื่อ GSB ออมสิน ปล่อยเงินกู้ฉุกเฉิน ผ่อนจ่าย 24 เดือนตามที่มีการตรวจพบข้อมูลเกี่ยวกับ ธ. ออมสินเปิดเพจ สินเชื่อ GSB ออมสิน ปล่อยเงินกู้ฉุกเฉิน ผ่อนจ่าย 24 เดือน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ ทั้งนี้ ประชาชนอาจเข้าใจผิดได้ว่า เพจดังกล่าวเป็นเพจของธนาคารออมสิน หลงเชื่อในข้อมูลที่เผยแพร่จากเพจปลอมเหล่านี้ และอาจสวมรอยส่งข้อมูลหลอกลวงหรือหลอกให้เข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นการกระทำของธนาคารstd48885• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโกโก้ ซอยโปรตีน เพิ่มสูง ไม่ต้องพึ่งหมอตามที่มีการเผยแพร่สรรพคุณในสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับประเด็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโกโก้ ซอยโปรตีน เพิ่มสูง ไม่ต้องพึ่งหมอ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd46410• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์น้ำมันว่านสมุนไพร ตราวินไพร์ด รักษากระดูกทับเส้น ปวดข้อ ปวดเข่า นิ้วล็อก เหน็บชา รูมะตอย ไหล่ยึด เส้นตึงเก๊าท์มีการแนะนำว่า ผลิตภัณฑ์น้ำมันว่านสมุนไพร ตราวินไพร์ด รักษากระดูกทับเส้น ปวดข้อ ปวดเข่า นิ้วล็อก เหน็บชา รูมะตอย ไหล่ยึด เส้นตึงเก๊าท์ ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ผลิตภัณฑ์น้ำมันว่านสมุนไพร ตราวินไพร์ด ตามที่ปรากฏดังกล่าวพบว่า เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีสูตรส่วนประกอบของสมุนไพร โดยมีการกล่าวอ้างสรรพคุณ คือ “รักษากระดูกทับเส้น ปวดข้อ ปวดเข่า นิ้วล็อก เหน็บชา รูมะตอย ไหล่ยึด เส้นตึงเก๊าท์” ซึ่งจากการสืบค้นในระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไม่ได้รับการอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาแต่อย่างใดstd46634• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยพบไซบูทรามีน ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ตรา พิชชี่ พลัสพบว่ามีส่วนประกอบที่เป็นยาอันตราย จึงส่งตรวจวิเคราะห์ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 6 ชลบุรี ผลการตรวจวิเคราะห์พบไซบูทรามีน ซึ่งเป็นวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภทที่ 1 ผลิตภัณฑ์นี้จึงจัดเป็นอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหรืออนามัยของประชาชน เป็นการกระทำฝ่าฝืนพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 ทั้งนี้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรีอยู่ระหว่างพิจารณาดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำความผิดอย. เพิกถอนstd46414• 2 ปีที่แล้ว
- 3 คนสงสัยข่าวปลอม! ผลิตภัณฑ์ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำวันนี้ (3 พ.ค.) ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่มีข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากกรณีที่มีการแนะนำผลิตภัณฑ์ ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ช่วยบำรุงให้หน้าขาวใส และลดจุดด่างดำ ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า จากฐานข้อมูลใบรับจดแจ้งเครื่องสำอางไม่พบชื่อผลิตภัณฑ์ “ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม” จึงได้ไปตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้ พบว่าอย. ได้เคยประกาศผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ “ไวท์โรส พลาเซนต้าครีม ครีมรกแกะ หน้าขาวใสลดจุดด่างดำ” ว่าพบสารประกอบของปรอท (Mercury compound) ซึ่งเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารห้ามใช้ จัดเป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เกิดการแพ้ ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง และเกิดพิษสะสมของสารปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ และไตอักเสบ ขอแนะนำให้ประชาชนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ มีฉลากภาษาไทยที่ระบุชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า เลขที่ใบรับจดแจ้งอย่างชัดเจน หากไม่แน่ใจสามารถตรวจสอบข้อมูลการได้รับอนุญาตจากเว็บไซต์ อย.อย. เพิกถอนstd46341• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยพายุถล่มถึงสิ้นเดือน มิ.ย. ฝนตกหนัก เป็นสัญญาณเตือนมหาอุทกภัยพายุถล่มถึงสิ้นเดือน มิ.ย. ฝนตกหนัก เป็นสัญญาณเตือนมหาอุทกภัย ทางกรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่ไม่ได้มีที่มาจากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา และไม่มีพายุถล่มถึงสิ้นเดือน มิ.ย. หรือจะมีมหาอุทกภัยแต่อย่างใด ทั้งนี้ พยากรณ์อากาศในช่วงวันที่ 24 – 25 มิ.ย. 66 ร่องมรสุมพาดผ่านตอนบนของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณชายฝั่งประเทศเวียดนามตอนบน และอ่าวตังเกี๋ย ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย สำหรับในช่วงวันที่ 26 – 28 มิ.ย. 66 ร่องมรสุมจะเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และประเทศลาวตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน และภาคใต้ เริ่มมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยจะมีฝนเพิ่มขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ โดยมีฝนตกหนักมากบางพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนเท่านั้น ส่วนคลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังปานกลาง โดยทะเลอันดามันตอนบน ทะเลมีคลื่นสูง 1 – 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ส่วนทะเลอันดามันตอนล่างและอ่าวไทย ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูง 1 – 2 เมตรสภาพอากาศsarocha082549• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยใช้กระดาษทิชชูซับน้ำมันจากของทอด เป็นสารก่อมะเร็งการใช้กระดาษทิชชูซับน้ำมันจากของทอดนั้น เป็นอันตรายต่อร่างกายและเป็นสารก่อมะเร็งชอบ ชาเขียว• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย่าเชื่อข้อมูลเท็จ ยืนตากแดดไม่ฆ่าเชื้อโควิดกรมควบคุมโรค ยืนยันว่า กรณีชวนเชื่อเคล็ดลับฆ่าเชื้อโควิด-19 โดยระบุว่าให้แสงแดดชโลมทั่วตัววันละ 20 นาทีทุกวัน (หรือมากที่สุดเท่าที่จะทำได้) แสงแดดจะไปเสริมภูมิคุ้มกันฆ่าเชื้อโควิด-19 ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า เป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่าการยืนตากแดดนั้นสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้ โดยเชื้อไวรัสตระกูลโควิด-19 นั้นสามารถทนทานต่อความร้อนได้ถึง 90 องศา ซึ่งในความเป็นจริงแล้วความร้อนจากแสงแดดนั้น มีความร้อนไม่ถึง 90 องศาแน่นอนโควิด 2019ik.beem23• 2 ปีที่แล้ว2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 2 คนสงสัยรัฐทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี 5,000 บาท ในเดือนนี้วันที่ 8 มิถุนายน 2566 นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงกรณีที่มีการแชร์และส่งต่อข้อมูล “รัฐฯ ทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี จำนวน 5,000 บาท ภายในเดือนมิถุนายนนี้”pathita.2550• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยคนชรากินปาท่องโก๋ที่ใส่แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต ทำให้ไตทำงานหนัก จริงหรอตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องคนชรากินปาท่องโก๋ที่ใส่แอมโมเนียมไบคาร์บอเนต ทำให้ไตทำงานหนัก ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมอนามัย หน่วยงานสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd46672• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยาลดความอ้วนการให้ยาลดความอ้วน จะทำให้ยุงไม่รู้สึกหิว ไม่อยากกินเลือด และมาตามกัดคนน้อยลง วิธีการทดลอง คือ ทีมงานได้ให้น้ำเกลือผสมยาลดน้ำหนักกับยุงสายพันธุ์หนึ่ง ซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกในแถบอเมริกาใต้และแอฟริกาJidapha Petlim• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยธ. ออมสินเปิดเพจ สินเชื่อ GSB ออมสิน ปล่อยเงินกู้ฉุกเฉิน ผ่อนจ่าย 24 เดือนตามที่มีการตรวจพบข้อมูลเกี่ยวกับ ธ. ออมสินเปิดเพจ สินเชื่อ GSB ออมสิน ปล่อยเงินกู้ฉุกเฉิน ผ่อนจ่าย 24 เดือน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ จากที่มีผู้โพสต์ให้ข่าวสารว่า ธ. ออมสินเปิดเพจ สินเชื่อ GSB ออมสิน ปล่อยเงินกู้ฉุกเฉิน ผ่อนจ่าย 24 เดือน ทางธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เพจเฟซบุ๊ก “สินเชื่อ GSB ออมสิน” ไม่ใช่เพจของธนาคารและไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ ทั้งสิ้นกับธนาคารออมสิน ซึ่งข้อมูลที่เพจนำมาเผยแพร่ไม่มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สินเชื่อที่ธนาคารเปิดให้บริการอยู่ในปัจจุบันเลย ทั้งนี้ ประชาชนอาจเข้าใจผิดได้ว่า เพจดังกล่าวเป็นเพจของธนาคารออมสิน หลงเชื่อในข้อมูลที่เผยแพร่จากเพจปลอมเหล่านี้ และอาจสวมรอยส่งข้อมูลหลอกลวงหรือหลอกให้เข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลทำให้ประชาชนเข้าใจว่าเป็นการกระทำของธนาคารAmonrat Maardlert• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงมีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงManeewan Rotmala• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกรมพัฒนาธุรกิจฯ ร่วมกรมจัดหางาน รับสมัครจำกัดเพียง 100 ท่านกรณีที่มีการโฆษณาข้อมูลว่า กรมพัฒนาธุรกิจฯ ร่วมกรมจัดหางาน รับสมัครจำกัดเพียง 100 ท่าน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ ตามที่มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าร่วมกับกรมการจัดหางาน รับสมัครคนสร้างรายได้บนตลาด ONLINE จำกัด 100 ท่าน รายได้ 500 บาทต่อวัน ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ภาพประกาศรับสมัครงานที่มีข้อความเชิญชวนทำงาน และมีการใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้น ไม่ใช่ข้อเท็จจริง อีกทั้งข้อความดังกล่าวไม่ได้มาจากส่วนราชการของกรมการจัดหางาน ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค หากพบเห็นข้อความดังกล่าวโปรดอย่าหลงเชื่อ เพราะอาจมีการขอข้อมูลส่วนตัวเพื่อนำไปใช้ในทางมิชอบ หรืออาจถูกหลอกลวงจนเกิดความเสียหายได้ website 2325 ดังนั้นสามารถติดตามข่าวสารของกรมการจัดหางานได้ที่เว็บไซต์กรมการจัดหางาน www.doe.go.th หรือโทรสายด่วนกรมการจัดหางาน : 1506 กด 2 และผู้ที่ต้องการมีงานทำ สามารถใช้บริการผ่านเว็บไซต์ “ไทยมีงานทำ.doe.go.th” หรือทาง Mobile Application “ไทยมีงานทำ”std46678• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัย"ไซบูทรามีน" แอบผสมในยาลดความอ้วน ผอมด่วน-ตายเร็วกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เตือน “ยาลดความอ้วน” ที่มีสารอันตราย "ไซบูทรามีน" หาซื้อได้ง่ายผ่านอินเทอร์เน็ต 20 ยี่ห้อเมื่อปี 2560 ขณะที่ปีนี้มีผู้เสียชีวิตจากยาลดความอ้วนยี่ห้อ “ลีน” 1 ใน ผลิตภัณฑ์เมจิกสกิน เนื่องจากมีส่วนผสมของสารอันตรายชนิดเดียวกัน วันนี้ (16 พ.ค.2561) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า “ยาลดความอ้วน” สามารถหาซื้อได้ง่ายผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเมื่อปี 2560 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์อาหารเสริมอันตราย 20 ยี่ห้อ ที่พบว่า มีสารอันตรายที่ชื่อว่า “ไซบูทรามีน” เป็นส่วนผสม ขณะที่อย.พบสารไซบูทรามีนในผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อ ลีน เมื่อช่วงเดือน มี.ค.ที่ผ่านมา และผลการชันสูตรจากแพทย์ ยืนยันว่า "ลีน" ทำให้ผู้บริโภคเสียชีวิต ข้อมูลจากภาควิชาเภสัชวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุว่า สารไซบูทรามีน มีลักษณะเป็นผงขาวคล้ายเกลือหรือน้ำตาล ไม่มีกลิ่น ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ผู้บริโภคลดความอยากอาหารและรู้สึกอิ่มเร็ว โดยในปี 2540 องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกาได้จัดสารไซบูทรามีนนี้เป็นยาที่ได้รับการควบคุมดูแลเป็นพิเศษและแพทย์ต้องเป็นผู้พิจารณาในการใช้ยาเท่านั้น โดยใช้ในการรักษาโรคอ้วนพร้อมกับการออกกำลังกายและควบคุมน้ำหนัก ช่วยให้ผู้ป่วยน้ำหนักลดลงร้อยละ 5-10 ขณะที่ในปี 2553 มีการตรวจสอบพบผลข้างเคียงที่อันตราย อาจทำให้ถึงกับเสียชีวิตกะทันหัน โดยมีภาวะไตวาย ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ และเสี่ยงเกิดโรคหัวใจขาดเลือด จึงทำให้ประเทศในแถบยุโรปประกาศยกเลิกไม่ให้ใช้สารนี้ในคนทั่วไป และนำยาไซบูทรามีนออกจากชั้นวางขายและงดจำหน่ายทันที ยาตัวนี้จึงหาซื้อไม่ได้ตามร้านทั่วไปนอกจากในตลาดมืดที่มีการลักลอบผลิต สำหรับในประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศยกเลิกสารดังกล่าวในทะเบียนตำรับยา และกำหนดให้เป็นยาควบคุมพิเศษที่ต้องสั่งจ่ายโดยแพทย์และขายได้เฉพาะในสถานพยาบาลเท่านั้น แต่เมื่อปี 2560 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์อาหารเสริมอันตราย 20 ยี่ห้อ โดยพบว่า มีสารไซบูทรามีนผสมอยู่ ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านั้นถือเป็นอาหารไม่บริสุทธิ์ ผู้ใดผลิต นำเข้าเพื่อจำหน่าย หรือจำหน่ายอาหารไม่บริสุทธิ์ จะมีโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ความอันตรายของสารไซบูทรามีน แสดงออกผ่านผลข้างเคียงของผู้บริโภค โดยจะมีอาการปากแห้ง คอแห้ง ท้องผูก ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ มีอาการใจสั่น ความดันโลหิตสูงกล้ามเนื้อกระตุก รวมไปถึงสภาพจิตใจเปลี่ยนแปลง เช่น ซึมเศร้า กังวล หวาดระแวง และอาจนำไปสู่การเสียชีวิต อย่างกรณีผู้บริโภคอาหารเสริมลีนแล้วเสียชีวิตไป 3 คน เมื่อช่วงต้นปี 2561 ผลการชันสูตรจากแพทย์ พบว่าผู้เสียชีวิตใน จ.กาญจนบุรี เสียชีวิตเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนจากสารไซบูทรามีน ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ยี่ห้อ "ลีน" ความสะดวกสบายในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมหรือยาลดความอ้วนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องท่ามกลางการเข้าถึงโซเชียลมีเดียร์ต่างๆ จนทำให้การตรวจสอบและควบคุมผลิตภัณฑ์เหล่านี้เป็นเรื่องยากมากขึ้นเรื่อย ๆ หากผู้ผลิตและจำหน่ายยังคงผสมสารอันตราย "ไซบูทรามีน" ส่วนผู้บริโภคต้องการลดน้ำหนักโดยไม่ได้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์โดยละเอียด ผู้เสียชีวิตจากผลิตภัณฑ์ยี่ห้อ "ลีน" อาจไม่ใช่เหยื่อรายสุดท้ายที่ต้องจบชีวิตลงด้วย "ยาลดความอ้วน"ลดความอ้วนSirilawan Sukphithak• 2 ปีที่แล้ว
- 3 คนสงสัยตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิดพอร์ตลงทุนหลักพัน กำไร 200 – 300 บาทจากที่มีการปรากฏข้อมูลบนสื่อออนไลน์เรื่องตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิดพอร์ตลงทุนหลักพัน กำไร 200 – 300 บาท ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่าเพจดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จunchitha13• 2 ปีที่แล้ว