1435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยข้อมูลจาก รองศาสตราจารย์ Bonnie HenryBonnie Henry รองศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย เธอมีพื้นฐานด้านระบาดวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน เธอยังมาจาก PEI (เกาะปรินซ์เอ็ดเวิร์ด) ภูมิปัญญาของดร. บอนนี่เฮนรี่ เกี่ยวกับ COVID - 19 1. เราอาจต้องอยู่กับ COVID-19 เป็นเวลาหลายเดือนหรือหลายปี อย่าปฏิเสธหรือตื่นตระหนก อย่าทำให้ชีวิตของเราไร้ประโยชน์ มาเรียนรู้ที่จะอยู่กับข้อเท็จจริงนี้กันเถอะ 2. คุณไม่สามารถทำลายไวรัส COVID-19 ที่เจาะผนังเซลล์ได้โดยการดื่มน้ำร้อนมากๆ อีกทั้งจะทำให้คุณเข้าห้องน้ำบ่อยขึ้นด้วย 3. การล้างมือและรักษาระยะห่างทางกายภาพสองเมตรเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับการป้องกันของคุณ 4. หากคุณไม่มีผู้ป่วย COVID-19 ที่บ้านก็ไม่จำเป็นต้องฆ่าเชื้อพื้นผิวที่บ้านของคุณ 5. ตู้สินค้า ปั๊มน้ำมัน รถเข็น และตู้เอทีเอ็ม ไม่ก่อให้เกิดการติดเชื้อ หากมีการล้างมือบ่อย จากใช้ชีวิตตามปกติ 6. โควิด -19 ไม่มีความเสี่ยง ที่แสดงให้เห็นว่า COVID-19 ติดต่อทางอาหารได้ 7. คุณสามารถสูญเสียความรู้สึกในการดมกลิ่น ด้วยอาการแพ้ และการติดเชื้อไวรัสจำนวนมาก นี่เป็นเพียงอาการไม่เฉพาะเจาะจงของ COVID-19 8. เมื่ออยู่บ้าน คุณไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าอย่างเร่งด่วนแล้วไปอาบน้ำ ไม่ควรถึงกับหวาดระแวง 9. ไวรัส COVID-19 ไม่ค้างอยู่ในอากาศเป็นเวลานาน นี่คือการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่ต้องสัมผัสใกล้ชิด 10. อากาศสะอาด คุณสามารถเดินผ่านสวนและผ่านสวนสาธารณะ (เพียงแค่รักษาระยะป้องกันทางกายภาพของคุณ) 11. ควรใช้สบู่ธรรมดาเพื่อป้องกันไวรัสโควิด -19 ไม่ใช่สบู่ต้านเชื้อแบคทีเรีย เพราะนี่คือไวรัสไม่ใช่แบคทีเรีย 12. คุณไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับการสั่งอาหารของคุณ แต่คุณสามารถอุ่นทั้งหมดในไมโครเวฟได้หากต้องการ 13. โอกาสที่จะนำ COVID-19 กลับบ้านพร้อมกับรองเท้าก็เหมือนกับการถูกฟ้าผ่า 2 ครั้งในหนึ่งวัน ฉันทำงานกับไวรัสมา 20 ปี การติดเชื้อไม่แพร่กระจายแบบนั้น 14. คุณไม่สามารถป้องกันไวรัสได้ด้วยน้ำส้มสายชูน้ำอ้อยและขิง! สิ่งเหล่านี้มีไว้เพื่อภูมิคุ้มกันไม่ใช่การรักษา 15. การสวมหน้ากากอนามัยเป็นเวลานาน อาจจะรบกวนการหายใจและระดับออกซิเจนของคุณลดลง จงสวมใส่ในฝูงชนเท่านั้น 16. การสวมถุงมือก็เป็นความคิดที่ไม่ดีเช่นกัน ไวรัสสามารถสะสมเข้าไปในถุงมือและแพร่เชื้อได้ง่ายหากคุณสัมผัสใบหน้า ดังนั้นจึงควรล้างมือเป็นประจำ จะดีกว่า ภูมิคุ้มกันจะอ่อนแอลงเมื่อ ร่ายกายอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดเชื้อ แม้ว่าคุณจะกินอาหารเสริมภูมิคุ้มกัน แต่ควรจะออกจากบ้าน ไป สวนสาธารณะ / ชายหาดเป็นประจำ ภูมิคุ้มกันจะเพิ่มขึ้นตามการสัมผัส ไม่ใช่โดยการนั่งอยู่บ้านและบริโภคอาหารทอด / เผ็ด / หวานและเครื่องดื่มเติมอากาศ จงฉลาด ใช้ชีวิต รับทราบข้อมูล อย่างมีเหตุผล อย่าวิตก จนเกินไป ชีวิตจะปลอดภัยโควิด 2019Mrs.Doubt• 4 ปีที่แล้วmeter: middle2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยรัสเซีย : ศูนย์ต้านข่าวปลอมของฮ่องกงระบุ ปูตินไม่ได้อัญเชิญ "พระบรมฉายาลักษณ์" ร.9โครงการตรวจสอบข้อเท็จจริงแห่งศูนย์สื่อมวลชนศึกษาและวารสารศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งฮ่องกง (HKU Journalism) ชี้ว่าภาพประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัสเซียอัญเชิญ "พระบรมฉายาลักษณ์" ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่แชร์กันทางโลกโซเชียลของไทยเมื่อปลายเดือน ก.พ.ข่าวการเมืองeardoil• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยลดน้ำโดยไม่ต้องออกกำลังกายคนลดน้ำหนักไม่ต้องออกกำลังกายplumplumplum2551• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยลดน้ำหนัแบบไม่อันตรายลดน้ำหนัก 3กิโลโดยไม่ต้องออกกำลังกายMoui• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยรัสเซีย : ศูนย์ต้านข่าวปลอมของฮ่องกงระบุ ปูตินไม่ได้อัญเชิญ "พระบรมฉายาลักษณ์" ร.9โครงการตรวจสอบข้อเท็จจริงแห่งศูนย์สื่อมวลชนศึกษาและวารสารศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งฮ่องกง (HKU Journalism) ชี้ว่าภาพประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัสเซียอัญเชิญ "พระบรมฉายาลักษณ์" ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่แชร์กันทางโลกโซเชียลของไทยเมื่อปลายเดือน ก.พ. เป็นภาพที่ถูกตัดต่อstd47630• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยศูนย์ต้านข่าวปลอมของฮ่องกงระบุ ปูตินไม่ได้อัญเชิญ "พระบรมฉายาลักษณ์" ร.9ผู้นำรัสเซียถือภาพถ่ายของบิดาขณะเข้าร่วมการเดินขบวนประจำปีที่ชื่อ "การเดินสวนสนามของกรมทหารที่ไม่มีวันตาย" เมื่อ 9 พ.ค. 2015 เพื่อรำลึกถึงผู้ที่ได้ร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2std46209• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมีวัคซีนป้องกันฝีดาษลิงได้แล้วจริงหรอค่ะเตรียมนำเข้าวัคซีนฝีดาษลิง รุ่น 3 เข้าไทยคาดครึ่งเดือนหลัง ส.ค.นี้kulanit1363• 3 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยวัคซีนป้องกันฝีดาษลิงเตรียมนำเข้าวัคซีนฝีดาษลิง รุ่น 3 เข้าไทยคาดครึ่งเดือนหลัง ส.ค.นี้KingTVz456za• 3 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อสุขภาพวัคซีนโควิดKhemmachart Jandum• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิตามที่มีการแนะนำในประเด็นเรื่อง ท้องฟ้าปิด ฝนตก ลูกเห็บ ทอร์นาโด น้ำท่วม คือสัญญาณเตือนก่อน-หลัง จะเกิดสึนามิ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd47941• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมูลนิธิไทยรัฐจัดสัมมนาครู ร.ร.ไทยรัฐวิทยาภาคกลาง-ตะวันออกที่ จ.สุพรรณบุรีมูลนิธิไทยรัฐ จัดสัมมนาครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ภาคกลาง และภาคตะวันออก ปี 2565 ที่ จ.สุพรรณบุรี โดยเน้นย้ำครูให้ถ่ายทอดเรื่องสื่อยุคใหม่ไม่ยัดเยียด หรือใส่ความรุนแรง สู้ข่าวปลอมข่าวลวงในโซเชียลstd48100• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อวัคซีนโควิดstd46748• 2 ปีที่แล้ว4 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโรงพยาบาลสงฆ์ กำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นวันที่ 30 พฤษภาคม 2565 เพจเฟสบุ๊ค "โรงพยาบาลสงฆ์ PriestHospital" ขอประชาสัมพันธ์ จากกรณีที่มีข้อความ โพสและส่งต่อแชร์ข้อความตามสื่อออนไลน์ต่างๆ ขอรับบริจาคของโรงพยาบาลสงฆ์ ว่ากำลังขาดแคลนสิ่งของจำเป็นโรงพยาบาลสงฆ์ ขอชี้แจงถึงประเด็นนี้ว่า ปัจจุบันโรงพยาบาลสงฆ์ ไม่ได้ขาดแคลนสิ่งของตามที่ต้นทางระบุ เนื่องจากยังมีข่าวปลอมเรื่อง รพ.สงฆ์ ขาดแคลน เครื่องอุปโภคบริโภคสำหรับพระอาพาธออกมาอยู่อย่างต่อเนื่องขอได้โปรด อย่าหลงเชื่อและติดตามข้อมูลสิ่งที่ควรบริจาคและเว้นการบริจาคให้ website ของ รพ.สงฆ์เองเท่านั้นstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยฮือฮา หนุ่มอ้างเดินทางข้ามเวลา มาจากปี6491 ผ่านทดสอบด้วยเครื่องจับเท็จหนุ่มอ้างเป็นนักเดินทางข้ามกาลเวลา มาจากปี6491 แต่มาติดอยู่ในปี 2018 เพราะไทม์แมชชีนเสีย ผ่านการทดสอบด้วยเครื่องจับเท็จ ผลออกมา‘พูดจริง’ เล่ามาจากโลกอื่นที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มากกว่าโลกของเราstd47617• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยย่านางแดงช่วยรักษากรดไหลย้อนได้!!มีข่าวในโซเชียลออนไลน์ว่าย่านางแดงมีสรรพคุณสามารถรักษาโรคกรดไหลย้อนได้ยาสมุนไพรaunchitta169• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงเนื่องจากพบเว็บไซต์ที่บอกว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสต้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงใครที่ฉีดวัคซีนแอสต้า ให้เฝ้าระวังตนเอง เพราะ มีความเสี่ยงที่ตะเป็นโรคฝีดาษลิงstd46766• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทาstd48924• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอstd46538• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จโควิด 2019std47896• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยดื่มปัสสาวะรักษาโรคได้ดื่มปัสสาวะรักษาโรคได้std46344• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใดphaisal9123• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเลิกเชื่อข่าวเท็จ "ฟอกเลือด" ไม่ช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบจากกรณีการแชร์ข้อมูลหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ เพราะไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่บอกว่าการฟอกเลือด และการกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคได้std46434• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยฟอกเลือดช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบหรือขาดเลือดประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ส่วนหลอดเลือดสมองแตก จะพบประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่หลอดเลือดสมองแตกที่เจอ มักจะมาจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นหลัก หากผู้ป่วยคุมความดันโลหิตไม่ได้ ความดันโลหิตสูงมาก ๆ จะเกิดหลอดเลือดในสมองแตกได้ ทำให้มีเลือดออกในสมอง ซึ่งโรคหลอดเลือดสมองตีบจะมีอาการแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีกข้างใดข้างหนึ่ง พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มองเห็นไม่ชัด โดยเป็นทันทีทันใด เช่น หลอดเลือดสมองตีบทางด้านซ้าย คนไข้จะอ่อนแรงด้านขวา ร่วมกับอาการปากเบี้ยวทางด้านขวา อาจมีเรื่องความรู้สึกลดลง เกิดความชา ฝั่งตรงข้ามของรอยโรคในสมอง บางคนมองเห็นภาพซ้อน สายตาแคบลง มองไม่เห็นฝั่งใดฝั่งหนึ่ง ถ้าเป็นมากจะหมดสติร่วมด้วย บางรายจะสื่อสารไม่ได้ พูดไม่ออก ฟังคำถามแล้วไม่เข้าใจ ทำตามสั่งไม่ได้ นอกจากนี้ ยังมีหลอดเลือดสมองด้านหลังบริเวณท้ายทอยจะเป็นแกนกลาง เรียกว่า ก้านสมอง บางครั้งก็มีหลอดเลือดเส้นเล็กอุดตันได้เช่นกัน แต่หากเป็นหลอดเลือดเส้นใหญ่จะอ่อนแรงทั้งสองข้าง และอาจหมดสติได้ ผู้คนจึงคิดว่าการฟอกเลือดช่วยรักษาโรคหลอดเลือดในสมองตีบได้std46428• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ