2434 ข้อความ
- 1 คนสงสัยยาลดความอ้วนเถื่อนตำรวจ ปคบ.แถลงผลตรวจยึดยาลดน้ำหนักปลอม ไม่มี อย.กว่า 160,000 เม็ด มูลค่ากว่า 5 ล้านบาท โดยขยายผลจากกรณีพริตตี้สาวกระโดดจากคอนโดฯ ย่านสุขุมวิท ซึ่งคาดว่ามาจากการกินยาลดน้ำหนัก แล้วเกิดอาการประสาทหลอน ตำรวจ ปคบ.แถลงผลตรวจยึดยาลดน้ำหนักปลอม ไม่มี อย.กว่า 160,000 เม็ด มูลค่ากว่า 5 ล้านบาท โดยขยายผลจากกรณีพริตตี้สาวกระโดดจากคอนโดฯ ย่านสุขุมวิท ซึ่งคาดว่ามาจากการกินยาลดน้ำหนัก แล้วเกิดอาการประสาทหลอนWaraluk Chucheep• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย. ห้ามผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโฆษณาอ้างรักษามะเร็งนพ.พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวถึงสถานการณ์ผู้ป่วยโรคมะเร็งในปัจจุบัน โดยระบุว่าเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนทั่วโลก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีstd48063• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยอย่าเชื่อ!!อย่าเชื่อ!! ผักบุ้งจีนผสมน้ำผึ้งแก้โรคต่อมลูกหมากโตstd47793• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย.ห้ามผลิตภัณฑ์เฉริมอาหารโฆษณารักษามะเร็งจากข้อมูลสถิติโรคมะเร็งในประเทศไทยปี 2562 ของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เปิดเผยว่าโรคมะเร็งที่พบในผู้ชายไทยมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่มะเร็งตับและท่อน้ำดี รองลงมาคือลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ,ปอด ,ต่อมลูกหมาก และช่องปาก ในขณะที่ผู้หญิงไทย 5 อันดับแรก คือ มะเร็งเต้านม ,ปากมดลูก ,ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ,มดลูก และสุดท้ายมะเร็งปอด ซึ่งมีค่ารักษาค่อนข้างจะสูง ทำให้มีผู้ประกอบการบางราย ใช้โอกาสนี้ทำการโฆษณาอวดอ้างผลิตภัณฑ์เสริมอาหารว่าสามารถรักษาโรคมะเร็ง โดยมักจะกล่าวอ้างสรรพคุณหรือนำรูปผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ มาใช้ เพื่อให้ผู้ป่วยหลงเชื่อและซื้อมารับประทาน” นพ.พูนลาstd46698• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกัญชามีสาร สารไฟโตแคนนาบินอยด์ ช่วยรักษาผู้ป่วยโรคพาร์กินสันได้จริงไหมค่เมื่อไม่นานมานี้มีกระแสอย่างแพร่หลายถึงการอนุญาตให้ใช้กัญชาได้ในหลายกรณี และในผู้ป่วยหลายกลุ่มอาการ รวมถึงผู้ป่วยพาร์กินสัน กัญชาถึงลดอาการของผู้ป่วยพาร์กินสันลงได้ เนื่องจากกัญชามีสารตัวหนึ่งชื่อ สารไฟโตแคนนาบินอยด์ ทำหน้าที่คล้ายระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทำงานของสารโดพามีนMxtinx260148• 3 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยรพ. วชิรพยาบาล รักษาอาการปวดเข่าโดยวิธีปั่นเลือดและฉีดที่หัวเข่า ข้างละ 300 บาทบทสรุปของเรื่องนี้คือ : จากกรณีดังกล่าวเป็นการให้ข้อมูลที่ยังไม่ครบถ้วน เพราะค่ารักษา ปกติจะอยู่ระหว่าง 3,500 – 4,000 บาท ต่อข้าง อาจทำให้ประชาชนเข้าใจคลาดเคลื่อนได้std48370• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยดื่มน้ำเปล่าแล้วทำให้ตัวบวมจริงหรอการที่เราดื่มน้ำเป็นจำนวนมากมันจะทำให้เราตัวบวม เเบบนี้ได้จิงหรอu64042060117• 4 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยต้องสแกนใบหน้าเพื่อลงทะเบียนซิมโทรศัพท์ในสามจังหวัดชายแดนใต้จริงไหมได้ข่าวว่าการลงทะเบียนซิมในวามจังหวัดต้องสแกนใบหน้าAZ• 5 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเชื้อโควิดมาจากฝีมือมนุษย์ หรือหลุดมาจากห้องแล็บในจีน จริงหรือคะประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ผู้นำสหรัฐได้วิพากษ์วิจารณ์จีน โดยกล่าวว่าการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นผลมาจากความผิดพลาดของจีน อาจมีต้นกำเนิดมาจากห้องปฏิบัติการในจีน ยันมีหลักฐานแต่บอกไม่ได้ จริงหรือเปล่าคะanonymous• 5 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยอึ้ง เพิ่งย้ายเข้าบ้านเช่า เจอสมบัติซ่อนไว้เป็นล้าน รู้เจ้าของเก่าตายแล้ว แต่ไม่โลภขโมยสักชิ้นคนแห่ชื่นชมคนไม่โลภ หญิงเพิ่งย้ายเข้าบ้านเช่า ลงมือเก็บบ้านบังเอิญเจอตู้เซฟ ข้างในมีสมบัติเป็นล้าน รีบนำมอบให้ จนท.ตามหาลูกหลานเจ้าของที่แท้จริง เรื่องราวน่าประหลาดใจที่เกิดขึ้นในเมืองเจิ้นไห่ มณฑลเจ้อเจียง ประเทศจีน ได้รับความสนใจจากสังคมอย่างกว้างขวาง ผู้เช่ารายใหม่ชื่อนางเจียง (นามแฝง) บังเอิญพบตู้เซฟขนาดเล็กที่ซ่อนอยู่ ซึ่งภายในมีทรัพย์สินมูลค่า 400,000 หยวน (ประมาณ 1.9 ล้านบาท)มีมstd46598• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! กรมการจัดหางานร่วมกับ DBD รับสมัครงานอาชีพเสริมหลังเลิกงานกรณีที่มีการโฆษณาว่า กรมการจัดหางานร่วมกับ DBD รับสมัครงานอาชีพเสริมหลังเลิกงาน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมchutikarn222549• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกรมการจัดหางานร่วมกับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ รับสมัครงานโปรโมทสินค้าและตรวจสอบสินค้าตามที่มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับกรมการจัดหางานร่วมกับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ รับสมัครพนักงานโปรโมทสินค้าและตรวจสอบสินค้า รายได้ 1,000 – 3,000 บาทต่อวัน ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ภาพประกาศเชิญชวนรับสมัครงาน ที่มีการใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้น ไม่ใช่ข้อเท็จจริง อีกทั้งข้อความดังกล่าวมิได้มาจากส่วนราชการของกรมการจัดหางาน ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคPB OM• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! กรมการจัดหางานร่วมกับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ รับสมัครงานโปรโมทสินค้าและตรวจสอบสินค้ากรณีที่มีการโฆษณาว่า กรมการจัดหางานร่วมกับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ รับสมัครงานโปรโมทสินค้าและตรวจสอบสินค้า ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ ตามที่มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับกรมการจัดหางานร่วมกับเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ รับสมัครพนักงานโปรโมทสินค้าและตรวจสอบสินค้า รายได้ 1,000 – 3,000 บาทต่อวัน ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ภาพประกาศเชิญชวนรับสมัครงาน ที่มีการใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้น ไม่ใช่ข้อเท็จจริง อีกทั้งข้อความดังกล่าวมิได้มาจากส่วนราชการของกรมการจัดหางาน ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคThitima• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเวนดิ้งแมชชีนเซ็นเตอร์ ร่วมกับกรมจัดหางาน รับสมัครคนตอบแชทออนไลน์กรมการจัดหางานร่วมกับบริษัท เวนดิ้งแมชชีนเซ็นเตอร์ จำกัด รับสมัครคนตอบแชทออนไลน์ รายได้ 800 บาทต่อวันstd46412• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! กรมจัดหางาน ร่วมกับบริษัทช้อปปิ้งออนไลน์ รับสมัครพนักงานตรวจคำสั่งซื้อสินค้าออนไลน์กรมจัดหางาน ร่วมกับบริษัทช้อปปิ้งออนไลน์ รับสมัครพนักงานตรวจคำสั่งซื้อสินค้าออนไลน์std46302• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกรมจัดหางาน ร่วมกับบริษัทช้อปปิ้งออนไลน์ รับสมัครพนักงานตรวจคำสั่งซื้อสินค้าออนไลน์การจัดหางาน ร่วมกับบริษัทช้อปปิ้งออนไลน์ เปิดรับสมัครพนักงานตรวจสอบคำสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ภาพประกาศเชิญชวนรับสมัครงาน ที่มีการใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาตผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมstd46333• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยฮ. อุทยานแก่งกระจาน ถูกยิงขณะบินสำรวจ การบุกรุกป่าฮ. อุทยานแก่งกระจาน ถูกยิงขณะบินสำรวจ การบุกรุกป่าPoonato head• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจริงหรือไม่ เทคฮอร์โมนในปริมาณที่มากทำให้ใบหน้าสวยขึ้นในปัจจุบันมีผู้คนหลากหลายที่มีความสนใจในการเปลี่ยนแปลงตนเองให้ตรงกับอัตลักษณ์ทางเพศ การเทค ฮอร์โมนจึงเป็นหนึ่งในวิธีที่นิยมมาก แต่มีผู้คนไม่น้อยที่ไม่ทราบการเทคฮอร์โมนอย่างถูกต้อง และอาจไปซื้อยา มาเทคฮอร์โมนเองจนเกิดอันตรายต่อร่างกาย ( ข้อมูลจากเว็บไซต์ : โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ) จากการสืบค้นข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าการเทคฮอร์โมนสำหรับหญิง ข้ามเพศเป็นการเพิ่มฮอร์โมนเพศหญิงเข้าสู่ร่างกาย พร้อมกับให้ยากดฮอร์โมนเพศชายที่มีตามเพศสภาพให้ ลดลง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จากการเทคฮอร์โมนในกลุ่มนี้จะทำให้สรีระร่างกายใกล้เคียงเพศหญิงมากขึ้น เช่น มี หน้าอก เสียงเล็กแหลมขึ้นหนวดเคราน้อยลง กล้ามเนื้อเล็กลง เป็นต้น (ข้อมูลเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2567 ) ข้อแนะนำในการเทคฮอร์โมนสำหรับหญิงข้ามเพศ • ร่างกายของคนข้ามเพศแต่ละคนไม่เหมือนกัน ยาที่เหมาะสมกับแต่ละคนจึงต่างกัน ควรที่จะเข้ารับการปรึกษา จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ก่อนเริ่มให้ฮอร์โมน • หาความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาฮอร์โมนที่ถูกต้อง รวมทั้งอันตรายของการใช้ยาเกินขนาด • วัดระดับฮอร์โมน testosterone และ estradiol ทุก 3-6 เดือน เพื่อตรวจหาภาวะแทรกซ้อนที่จะ ตามมา ( ข้อมูลจากเว็บไซต์ : คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ) ดังนั้นการเทคฮอร์โมนสำหรับหญิงข้ามเพศ เป็นการเพิ่มฮอร์โมนเพศหญิงเข้าสู่ร่างกาย และกดฮอร์โมนเพศชาย ให้ลดลง ซึ่งนั่นจะทำให้สรีระร่างกายใกล้เคียงเพศหญิงมากขึ้น แต่ไม่สามารถเปลี่นรูปลักษณ์ของใบหน้าได้ ปรับเปลี่ยนได้แค่สรีระร่างกายสุขภาพความสวยความงามChittakon Pawakho• 1 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวการกินยาลดน้ำหนักของแบงค์สตางค์เป็นเรื่อง! “แบงค์สตางค์” เล่านาทีเฉียดตาย “ใจเต้นรัว – หายใจไม่ออก” หลังกินยาลดอ้วนนับ 10 แบรนด์kulanit1363• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเพจ “บริษัทจัดหางาน” ผ่านการรับรองจากกรมการจัดหางาน“บริษัทจัดหางาน” ที่มีการรับรองจากกรมการจัดหางาน ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอม• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! เพจ “บริษัทจัดหางาน” ผ่านการรับรองจากกรมการจัดหางานกรณีที่มีการโฆษณาว่า เพจ “บริษัทจัดหางาน” ผ่านการรับรองจากกรมการจัดหางาน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ ตามที่มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับเพจ “บริษัทจัดหางาน” ที่มีการรับรองจากกรมการจัดหางาน ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า เพจเฟซบุ๊ก “บริษัทจัดหางาน” ที่อ้างว่าได้รับการรับรองจากกรมจัดหางานเชิญชวนให้สมัครงาน โดยใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้น ไม่ใช่ข้อเท็จจริง กรมการจัดหางานตรวจสอบพบว่า เพจดังกล่าวไม่ได้มาจากส่วนราชการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค หากพบเห็นข้อความดังกล่าวโปรดอย่าหลงเชื่อผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมstd46463• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! เพจ “บริษัทจัดหางาน” ผ่านการรับรองจากกรมการจัดหางานตามที่มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับเพจ “บริษัทจัดหางาน” ที่มีการรับรองจากกรมการจัดหางาน ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า เพจเฟซบุ๊ก “บริษัทจัดหางาน” ที่อ้างว่าได้รับการรับรองจากกรมจัดหางานเชิญชวนให้สมัครงาน โดยใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาตนั้น ไม่ใช่ข้อเท็จจริง กรมการจัดหางานตรวจสอบพบว่า เพจดังกล่าวไม่ได้มาจากส่วนราชการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค หากพบเห็นข้อความดังกล่าวโปรดอย่าหลงเชื่อผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมstd46400• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! เพจ “บริษัทจัดหางาน” ผ่านการรับรองจากกรมการจัดหางานกรณีที่มีการโฆษณาว่า เพจ “บริษัทจัดหางาน” ผ่านการรับรองจากกรมการจัดหางาน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมzenter.05.10.• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกรมการจัดหางาน เปิดรับสมัครงาน รายได้วันละ 900 – 2,500 บาทตามที่มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับกรมการจัดหางาน เปิดรับสมัครงาน รายได้วันละ 900 – 2,500 บาท ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า มีการใช้ตราสัญลักษณ์กรมการจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาต ภาพประกาศเชิญชวนรับสมัครงานและข้อความดังกล่าวไม่เป็นความจริง และข้อความดังกล่าวมิได้มาจากส่วนราชการของกรมการจัดหางานผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมstd47084• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยกรมจัดหางานร่วมกับภาคเอกชน เปิดรับสมัครงาน ผ่านเพจบริษัทจัดหางานออนไลน์มีข่าวสารเผยแพร่เกี่ยวกับกรมการจัดหางานร่วมกับภาคเอกชน เปิดรับสมัครงานตำแหน่งโปรโมทสินค้าและผลิตภัณฑ์ ผ่านเพจบริษัทจัดหางานออนไลน์Phitchapa Limwatthana• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ