13435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยรักษา "มะเร็งระยะสุดท้าย" ด้วยการดื่มน้ำปั่นผักจิงจูฉ่ายกรณีที่มีผู้โพสต์แนะนำผู้ที่เป็นมะเร็งระยะสุดท้ายให้รักษาด้วยการดื่มน้ำปั่นผักจิงจูฉ่าย ทางสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ยังไม่มีหลักฐานงานวิจัยทางคลินิกที่ยืนยันแน่ชัดว่าผักจิงจูฉ่ายช่วยรักษามะเร็งระยะสุดท้ายในมนุษย์ได้ โดยผักจิงจูฉ่ายมะเร็งยาสมุนไพรstd46418• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 7 คนสงสัยข่าวปลอม! แก้โรคความดันโลหิตสูง แค่กำมือ – แบมือศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบเรื่อง ความดันโลหิตสูงแก้ได้โดยการกำมือ-แบมือ กับโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า การกำมือและแบมือดังไม่มีผลทางการแพทย์ที่สามารถอธิบายหรือยืนยันได้ว่า สามารถลดความดันโลหิตได้Itsaree Rungninrat• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยแอปเป๋าตัง ให้กู้เงิน 1 หมื่นบาท ลงทะเบียนได้ทุกอาชีพตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง แอปเป๋าตัง ให้กู้เงิน 1 หมื่นบาท ลงทะเบียนได้ทุกอาชีพ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย ธนาคารกรุงไทย พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ . จากกรณีการโพสต์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการขอสินเชื่อกับธนาคารกรุงไทย ผ่านแอปพลิเคชันเป๋าตังนั้น ทางธนาคารกรุงไทยได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวและชี้แจงว่า ปัจจุบันยังไม่มีบริการให้สินเชื่อผ่านแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” ซึ่งแอปพลิเคชันเป๋าตัง เป็นแพลตฟอร์มด้านการเงินระบบเปิด สามารถใช้บริการแม้ไม่มีบัญชีเงินฝากของธนาคารกรุงไทย ให้บริการครอบคลุมทั้งบริการกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-wallet) รองรับการทำธุรกรรมโอนเงิน เติมเงิน และชำระค่าสินค้าและบริการ รวมถึงบริการกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ (G-wallet) รองรับการทำนโยบายของภาครัฐ บริการกระเป๋าสุขภาพ (Health Wallet) ตรวจเช็กสิทธิด้านสุขภาพผ่านเป๋าตัง บริการด้านการลงทุนพันธบัตรของรัฐผ่านวอลเล็ต สบม.รวมถึงบริการเกี่ยวกับกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ที่ช่วยให้การจัดการบัญชีกยศ. สะดวก และรวดเร็ว . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ทั้งนี้หากพบ SMS อีเมล หรือ LINE ที่มีลิงก์แอบอ้างเป็นธนาคาร หรือพบเหตุผิดปกติ สามารถแจ้งผ่าน Facebook Fanpage Krungthai Care และ Krungthai Contact Center โทร 02-111-1111 ได้ตลอด 24 ชั่วโมงแอคปลอมHathaikan Inmaung• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 2 คนสงสัยห้ามสระผมก่อนอาบน้ำ เพราะทำให้เส้นเลือดแตกได้ห้ามสระผมก่อนอาบน้ำ ว่า ไม่ควรสระผมก่อนอาบน้ำ เพราะทำให้เส้นเลือดแตกได้ ทางสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า โรคหลอดเลือดสมอง มี 2 ประเภท คือ สมองขาดเลือด และภาวะเลือดออกในเนื้อสมอง ซึ่งโดยภาพรวมพบภาวะสมองขาดเลือดมากกว่าเลือดออกในสมอง ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญทั้งสองภาวะนี้ คือโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่std46771• 2 ปีที่แล้ว
- 4 คนสงสัยสปสช. เตือน! ปชช.อย่าหลงเชื่อ SMS "หลอกให้อัปเดทข้อมูลบัตรทอง"วันที่ 31 มีนาคม 2566 ทพ.อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เปิดเผยว่า ในระยะนี้พบว่ากลุ่มมิจฉาชีพได้แอบอ้างชื่อ สปสช. ส่ง SMS ไปยังโทรศัพท์มือถือของประชาชน โดยอ้างว่า สปสช.มีนโยบายให้อัปเดทข้อมูลบัตรบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทองให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิทันที พร้อมแนบลิงก์สำหรับให้คลิกเข้าไปอัปเดทข้อมูลSupawadee Apiraklaosakul• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยลดความมันหนังศรีษะและอาการผมร่วง ด้วยเกลือผสมแชมพูลดความมันหนังศรีษะและอาการผมร่วง ด้วยเกลือผสมแชมพูPrimrata Armawan• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเร่งชี้แจง!! "หนุ่ม กรรชัย" เจอกุข่าวโรคหัวใจกำเริบต้องผ่าตัดด่วนช่วงนี้เหล่าคนบันเทิงมากมาย เจอเพจกุข่าวปลอมกันมากขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้หนุ่ม "เบิ้ล ปทุมราช" ก็เพิ่งออกมาชี้แจงกรณีเจอเพจหนึ่งกุข่าวป่วยเป็นโรคสมองต้องผ่าตัดด่วน ซึ่งเจ้าตัวก็เร่งชี้แจงทันทีว่าไม่เป็นความจริง เช่นเดียวกันกับพิธีกรดังของเมืองไทยอย่าง "หนุ่ม กรรชัย" ที่เอ่ยปากชี้แจงกลางรายการ ข่าวใส่ไข่ทันที หลังเห็นเพจดังกล่าว ได้โพสต์ภาพตนขณะนอนป่วยและรักษาตัวที่โรงพยาบาลstd46683• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอึ้งทั้งด้อม!! เจนนี่blackpink เดินจับมือกับ วีbts ริมทะเลสุดหวานกลายเป็นประเด็นร้อนที่ทำแฟนๆ ทั่วโลกอึ้งหนัก และพากันจับตาดูความสัมพันธ์ของ 2 คนดังระดับโลกอย่าง 'เจนนี่ BLACKPINK' และ 'วี BTS' หลังมีคลิปวิดีโอของทั้งคู่ เดินจูงมือถือแขนเดินชมวิวแม่น้ำแซน ณ เมืองหลวงสุดโรแมนติกอย่าง ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ถูกเผยแพร่ออกมาในโลกโซเชียล คลิปวิดีโอดังกล่าวของทั้งคู่ ถูกบันทึกได้โดยช่างภาพชาวฝรั่งเศส Amar Taoualit โดยในคลิปมีภาพที่ค่อนข้างชัดเจนว่าคนดังทั้ง 2 คือ วี และ เจนนี่ ขณะกำลังเดินเล่นกินลมชมวิวกันที่ริมแม่น้ำแซนในกรุงปารีส โดยมีผู้จัดการส่วนตัวของทั้งคู่เดินตามหลังอยู่ห่างๆ เป็นการตอกย้ำข่าวลือที่เคยมีมาให้แฟนคลับของทั้งคู่ ได้เห็นผ่านตากันอยู่เรื่อยๆ ว่าทั้งคู่กำลังคบหาดูใจกันอยู่จริง และสานความสัมพันธ์กันมานานเป็นปีแล้วstd46770• 2 ปีที่แล้ว
- 4 คนสงสัยโควิด-19 แพร่กระจายผ่านอากาศ (Airborne)ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่าง ๆ ว่า เชื้อไวรัสโควิด-19 แพร่กระจายผ่านอากาศนั้น กรมควบคุมโรคได้ชี้แจงว่าไม่เป็นความจริง การติดต่อของเชื้อไวรัสโควิด-19 หลัก ๆ ยังคงแพร่กระจายผ่านละอองเสมหะ (droplets) ซึ่งผู้รับเชื้อต้องอยู่ใกล้ชิดกับผู้ไอ จาม ในระยะน้อยกว่า 90 ซม. และต้องสัมผัสกับสิ่งคัดหลั่ง เช่น น้ำมูก น้ำลาย เสมหะ เข้าทางเยื่อเมือก เป็นต้นโควิด 2019std46756• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยืนตากแดด ฆ่าโควิด-19 ได้ฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่มีการนำมาแชร์ซ้ำก็คือ การยืนตากแดดจะสามารถฆ่าเชื้อได้ ซึ่งทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริง เนื่องจากไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่าการยืนตากแดดนั้นสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้ เพราะเชื้อไวรัสตระกูลโควิด-19 นั้นสามารถทนทานต่อความร้อนได้ถึง 90 องศา ซึ่งความร้อนจากแสงแดดนั้นมีความร้อนไม่ถึงระดับนี้แน่นอน ทั้งนี้ กรมควบคุมโรคได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ไวรัสชนิดนี้จะตายเมื่อโดนความร้อนที่อุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียส เป็นเวลานานต่อเนื่อง 30 นาที ซึ่งแสงแดดก็ไม่สามารถทำให้เกิดความร้อนในระดับนี้ได้เช่นกันstd46771• 2 ปีที่แล้ว
- 11 คนสงสัย: สเปรย์สำหรับพ่นปากและคอ ช่วยฆ่าโควิด-19 ได้!จากที่มีการแชร์ข้อมูลว่า ผลิตภัณฑ์สเปรย์สำหรับพ่นปากและคอ (เบตาดีน โทรตสเปรย์) สามารถยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ชี้แจงว่า แม้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจะผ่านการอนุญาตกับอย. ก็ตาม แต่มีเพียงสรรพคุณเป็นยาฆ่าเชื้อโรค ลดอาการอักเสบบริเวณช่องปากและลำคอเท่านั้น ไม่สามารถฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้โควิด 2019std46756• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อ เมื่อคนรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะมีระยะฟักตัวประมาณ 7-14 วัน อาจนานถึง 21 วัน โดยอาการเริ่มแรกจะมีไข้ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ต่อมน้ำเหลืองโต หนาวสั่น อ่อนเพลีย จากนั้นประมาณ 1-3 วัน จะมีผื่นขึ้นบริเวณแขนขา และอาจจะเกิดบนหน้าและลำตัวได้ด้วย ผื่นจะกลายเป็นตุ่มหนอง ในระยะสุดท้ายตุ่มหนองจะเป็นสะเก็ดแล้วหลุดออกมา อาการป่วยจะประมาณ 2-4 สัปดาห์ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากโรคเองได้ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคฝีดาษลิงที่เฉพาะเจาะจง แต่สามารถควบคุมการระบาดได้ด้วย การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ ซึ่งสามารถป้องกันโรคฝีดาษลิงได้ 85% ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมควบคุมโรค สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www.ddc.moph.go.th หรือโทร 1422 ได้ตลอด 24 ชม. บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอดลยา ซื่อตรง เลขที่36• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอภินิหารกินเจไม่มีจริง เตือนข้อมูลข่าวปลอมทานอาหารเมนูผักต้านโควิดอภินิหารกินเจไม่มีจริง เตือนข้อมูลข่าวปลอมทานอาหารเมนูผักต้านโควิด หลายครั้งความเชื่อกับความป่วยมักสวนทางกัน หนึ่งในนั้นคือการสร้างความเชื่อที่ว่าการกินเจ กินมังสวิรัติ และรับประทานผลไม้ที่มีฤทธิเป็นด่างจะไม่ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 มีผู้ส่งข้อความมายัง cofact.org เพื่อให้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่มีการเผยแพร่ในสื่อสังคมออนไลน์เป็นจำนวนมากว่ากินเจไม่ติดโควิดจริงหรือไม่ ประเด็นนี้ต้องย้อนไปในสื่อที่เคยนำเสนอบทความเผยแพร่ว่านักวิชาการยืนยันการกินเจ กินมังสวิรัติ ไม่ติดโควิด ไม่เป็นความจริง ช่วงปลายเดือนมี.ค. 2563 ที่ผ่านมา มีการชี้แจงข้อเท็จจริงจากนักวิชาการหลายๆ ท่านว่า การกินเจ กินมังสวิรัติ ไม่ติดโควิด-19 ไม่เป็นความจริง อาทิ อาจารย์เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์อธิบายผ่านเพจ อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ เมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2563 ระบุว่า “คนกินเจ ก็ติดโรคโควิด-19 ได้นะครับ เหมือนช่วงนี้ ทุกคนพยายามจะเอาความเชื่อตัวเอง มาเชื่อมโยงกับการป้องกันรักษาโรคจากเชื้อโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่กันใหญ่เลย มีอาหารเสริมหลายชนิดที่แอบอ้างขายช่วงนี้ รวมไปถึงวิตามิน และสมุนไพรด้วยPrimrata Armawan• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไม่น่าเชื่อถือ! ป.ป.ช.ตีตกข้อเสนอขอกันตัวพยาน 'ผู้ถูกกล่าวหารายสำคัญ' คดีแอร์บัส 10 ลำหลังจากที่ผู้ถูกกล่าวหารายนี้ ได้แจ้งขอความประสงค์ขอให้ ป.ป.ช.กันตัวเองเป็นพยาน โดยแจ้งว่ามีข้อมูลสำคัญ แต่กลับไม่มีและให้การไม่เหมือนกันกับตอนเป็นพยาน ขัดกับพยานปากอื่น กรรมการ ป.ป.ช.เลยไม่เชื่อถือ ตีตกข้อเสนอขอกันตัวเป็นพยานดังกล่าวไป สำหรับคดีนี้ สำนักข่าวอิศรา รายงานข่าวไปแล้วว่า ในช่วงเดือน ธ.ค.2565 ที่ผ่านมา คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้มีมติให้แจ้งข้อกล่าวหานายทักษิณ ชินวัตร เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายพิเชษฐ สถิรชวาล เมื่อครั้งดำรงตำแหน่ง รมช.คมนาคม ,นายทนง พิทยะ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ บมจ.การบินไทย และนายกนก อภิรดี เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บมจ.การบินไทย ในความผิดฐานร่วมกันปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ กรณีการจัดซื้อเครื่องบินแอร์บัสแบบ A340-500 และแบบ A340-600 จำนวน 10 ลำ ในช่วงปี 2546-2547 ทำให้ บมจ.การบินไทย ได้รับความเสียหายชลิษา ล่องวัด• 2 ปีที่แล้ว
- 22 คนสงสัยดื่มน้ำมะนาวผสมเกลือฆ่าโควิด-19 ได้ !จากการแชร์ข้อมูลว่าการดื่มน้ำอุ่นผสมเกลือ น้ำสมุนไพร และน้ำมะนาว สามารถฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 นั้น กรมควบคุมโรคได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริง และเป็นการสร้างข้อมูลเท็จ มาเผยแพร่ซ้ำ เพราะปัจจุบันยังไม่มีรายงานทางการแพทย์ใดยืนยันว่าการดื่มน้ำมะนาวผสมเกลือนั้น ช่วยฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้โควิด 2019std46756• 2 ปีที่แล้ว
- 3 คนสงสัยสเปรย์สำหรับพ่นปากและคอ ช่วยฆ่าโควิด-19 ได้!ผลิตภัณฑ์สเปรย์สำหรับพ่นปากและคอ (เบตาดีน โทรตสเปรย์) สามารถยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ชี้แจงว่า แม้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจะผ่านการอนุญาตกับอย. ก็ตาม แต่มีเพียงสรรพคุณเป็นยาฆ่าเชื้อโรค ลดอาการอักเสบบริเวณช่องปากและลำคอเท่านั้น ไม่สามารถฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้std46771• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเรื่องหลอกลวงเกี่ยวกับการทดลองกัญชาของนาซาการทดลองกัญชาของนาซาเป็นเรื่องหลอกลวงทางอินเทอร์เน็ตในปี 2559-2561 โดยอ้างถึงบันทึกการจ่ายเงิน 18,000 ดอลลาร์ของนาซาแก่อาสาสมัครเพื่อทำการทดลองนอนบนเตียงและให้กัญชาสูบระหว่างการทดลองเป็นเวลา 3 เดือน (หรือ 70 วัน) โดยได้เงิน 18,000 ดอลลาร์ (3) แต่นาซายืนยันว่าได้ทำการทดลองการนอนบนเตียงจริง แต่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับกัญชา แต่เรื่องหลอกลวงนี้อาจมีที่มามาจากข่าวจริงในปี 2557 โดยคอลัมนิสต์ของสำนักข่าว VICE ชื่อ แอนดรูว์ อิวานิชกิ (Andrew Iwanicki) ซึ่งเขาได้บันทึกประสบการณ์ของเขาในฐานะผู้เข้าร่วมการทดลองการนอนของนาซา เรื่องปลอมนี้ดูเหมือนจะไม่มีพิษภัยอะไร และสื่อที่แก้ข่าสค่อนข้างจะให้น้ำหนักกับมันในฐานเรื่องตลกขบขันหรือข่าวสัพเพเหระเสียมากกว่าNattakij Boonmarong• 2 ปีที่แล้ว
- 15 คนสงสัยหน้ากากอนามัยแบบ non-medical mask ไม่สามารถช่วยป้องกันโควิด-19 ได้จากกระแสการแชร์ข้อมูลว่า หน้ากากอนามัยแบบ non-medical mask หรือหน้ากากที่ไม่ใช่ทางการแพทย์ ไม่สามารถช่วยป้องกันโควิด-19 ได้นั้น รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ให้ความรู้ว่า หน้ากากอนามัยแบบ non-medical mask ที่มีคุณภาพการผลิตดี แผ่นกรองหลายชั้น และไม่มีเชื้อโรคปนเปื้อนนั้น บุคคลธรรมดาก็สามารถนำมาใช้ใส่เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้โควิด 2019std46756• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยปิ่น เก็จมณี สลัดลุคครั้งใหญ่ หั่นผมสั้นหลังเป็นโสดเรียกว่าเป็นการหั่นผมสั้นในรอบหลายสิบปีเลยทีเดียว เพราะตั้งแต่เข้าวงการบันเทิงมาก็แทบจะไม่มีใครเคยเห็นคุณแม่ลูกสาม "ปิ่น เก็จมณี พิชัยรณรงค์สงคราม" อดีตภรรยา "เจ เจตริน วรรธนะสิน" ตัดผมสั้นเลย กระทั่งล่าสุดแม่ปิ่นก็มาพร้อมลุคใหม่ผมสั้นสุดเฟี๊ยช!!!และน้องแมวตัวโปรด มองผ่าน ๆ นึกว่าสาววัย 20 ต้น ๆ ด้วยซ้ำ ซึ่งมีแฟนคลับเข้ามาคอมเมนต์แซว อาทิ อุ๊ยผมสั้น ต้องเท่ห์แน่ ๆ เลย , โอ้ยยแม่!!!!!ผมสั้นในรอบเกือบ 40 ปีได้เลยมั้ง สวยสดใสมากค่ะแม่ปิ่นโต ทำเพื่อคนอื่นมาเยอะแล้ว ตามใจตัวเองให้สุดๆไปเลยค่ะคราวนี้ , พี่ปิ่นตัดผมสั้นน่ารักมากค่ะดูเด็กไปอีกค่ะ ,ชลิษา ล่องวัด• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยช็อกวงการ! อั้ม มือลั่นกดอัลฟอลคู่ซี้คนนี้ โกรธ-งอน เกิดอะไรขึ้น?ไม่รู้ว่ามือลั่นหรือเป็นอะไรกันเเน่เมื่อล่าสุดมีหลายคนสังเกตว่า ซุปตาร์สาว อั้ม พัชราภา เธอได้กดอัลฟอลโล่ไอจีผู้จัดการส่วนตัว เอ ศุภชัยเป็นที่เรียบร้อยเเล้ว ทั้งๆที่เมื่อ2 วันก่อนทั้งคู่ยังเจอกันอยู่เลย เเต่ทางด้านของพี่เอยังฟอลอั้มอยู่ เอาเป็นว่างานนี้รอฟังคำตอบจากสาวอั้มดีกว่าว่าเกิดอะไรขึ้นชลิษา ล่องวัด• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยดื่มน้ำมะนาวผสมเกลือฆ่าโควิด-19 ได้ !การดื่มน้ำอุ่นผสมเกลือ น้ำสมุนไพร และน้ำมะนาว สามารถฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 นั้น กรมควบคุมโรคได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริง และเป็นการสร้างข้อมูลเท็จ มาเผยแพร่ซ้ำ เพราะปัจจุบันยังไม่มีรายงานทางการแพทย์ใดยืนยันว่าการดื่มน้ำมะนาวผสมเกลือนั้น ช่วยฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้std46771• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเจอแล้วต้นตอ “แบมแบม” ตัดพ้อ ทำไมคนโลกนี้ถึงเกลียดผมจัง? ด้าน “อากาเซ่” ผุด #WeLoveYouBamBam ปลอบโยนหัวใจ กระหึ่มโซเชียลเจ้าของช่องได้ตอบคอมเม้นต์คนที่เข้าแสดงความเห็นในเชิงลบต่อตัวศิลปิน อาทิ เมื่อมีคนมาคอมเม้นต์ว่า คนแน่นมาก แทบไม่มีที่จะเดินตอนจุดพลุจบ แบมขึ้นคนทยอยออกงานกันแทบเป็นลม เจ้าของช่องก็มาตอบว่า “ปีหน้าไม่เอาแบมแบมมาแล้ว คนเยอะเกิน” พร้อมบอกอีกว่า “พี่ชายเขามาจ้างมา” และยังมีอีกหลายความเห็น อย่าง งานใหญ่มาก คนเป็นแสน สมการรอคอย หายเหนื่อยเมื่อแบมแบมออกมา เจ้าของช่อง ก็ตอบไปว่า “เยอะไป๊” และเมื่อมีคนแสดงความเห็นว่า ปีหน้าอยากให้แบมแบมมาอีก เอาให้คนล้น เพราะกระตุ้นเศรษฐกิจได้อีก เจ้าของช่อง ก็ตอบว่า “ที่ไม่พอแล้วจ้า ทีมงานร้องขอชีวิต ทั้งนี้ต่อมา แบมแบม ก็ได้โพสต์ระบายความในใจว่า “ให้ผมอยู่สุขบ้างเถอะครับ ผมไปทำอะไร ไม่ดีให้พวกคุณหรอครับ? หลายๆ รอบแล้ว ทำไมคนโลกนี้ถึงเกลียดผมกันจังครับ แค่ตั้งใจทำงาน ตั้งใจใช้ชีวิต ในแต่ละวันนี้ มันขัดใจหลาย ๆ คนมากหรอครับ?” ทำให้โซเชียลลุกเป็นไฟ เหล่าอากาเซ่ (ชื่อแฟนคลับ) ออกมากางปีกปกป้องไอดอลที่รัก จนเกิดเป็นแฮชแทค #แบนห้องท้ายบ้าน ในโลกออนไลน์ เช่นเดียวกับแฟน ๆ บอกรักและให้กำลังใจ แบมแบม ผ่านแฮชแทค #WeLoveYouBamBam จนติดเทรนด์ทวิตเตอร์อันดับ 1 อย่างรวดเร็ว... สามารถAranya Suksan• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยทานอาหารเมนูผักต้านโควิดทานอาหารเมนูผักต้านโควิดstd46620• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผักกระสังรักษามะเร็งเต้านมผักกระสังรักษามะเร็งเต้านมstd46620• 2 ปีที่แล้ว
- 22 คนสงสัยชุดตรวจโควิด-19 แบบ Rapid Test สามารถใช้ตรวจเองได้ !จากที่มีการนำชุดตรวจโควิด-19 แบบ Rapid Test มาขายออนไลน์ และระบุว่าประชาชนสามารถซื้อมาตรวจเองได้เลย จริง ๆ แล้ว กระทรวงสาธารณสุข ไม่อนุญาตให้ขายชุดตรวจเร็วในช่องทางออนไลน์ เพราะชุดตรวจ Rapid Test เป็นการตรวจว่ามีภูมิคุ้มกันต่อโรคโควิด-19 หรือไม่ ซึ่งต้องตรวจและแปลผลโดยบุคลากรทางการแพทย์เท่านั้น เพราะหากแปลผลผิด ก็จะทำให้ผู้ติดเชื้อที่ไม่รู้ตัวแพร่เชื้อไปถึงผู้อื่นได้โควิด 2019dogney077• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ