743 ข้อความ
- 1 คนสงสัยมีงานวิจัยใหม่ ให้เรารักษาระยะห่าง social distancing ต่อไป อย่างน้อยอีก 2 ปีงานวิจัยใหม่ล่าสุด ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิจัยระดับโลก Science ที่ทำแบบจำลองประเมินการระบาดของโรคโควิด-19 ระบุว่า "มันจะกลับมาระบาดใหม่หรือไม่ในช่วงนี้จนถึงปี 2025 นั้น ขึ้นอยู่กับว่ามนุษยชาติจะมีภูมิต้านทานต่อโรคหรือไม่ ... การทำ Social distancing เป็นระยะทางสังคมนั้น อาจจะต้องยาวนานไปจนถึงปี 2022 (อีก 2-3 ปี) ถึงจะหลีกเลี่ยงไม่ให้มีผู้ป่วยมากจนเกินที่ระบบสาธารณสุขรองรับได้โควิด 2019naydoitall• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยธนาคารแห่งประเทศไทยกำลังดำเนินคดีกับ ทักษิณ ชินวัตร กับเรื่องที่เขาได้เปิดเผยกลางรายการทีวีถ่ายทอดสดhttps://sing.moviedrift.com/th-thaksin-ethereum/?campaign_id=21956702&campaign_name=CPA+thailand+pops+desktop&creative_id=3302275&publisher_id=b7d7e1f3f38ac0262795bd6a0da6f08c&site_id=664b410019dcbd5bf564153b0b72127d&country=THA&os=Windows+10&ip=171.100.191.44&user_id=desktop%3Ac6e16579bcb7446f6b3abce5960f31e4&sub_list_id=12759&bid_price=4.05&click_id=v2-1714578371555-4-12759-1342753-5af6da5c-b3c1-1c89-74d8-5ea3472a2bb8&type=popข่าวการเมืองการเงินแอคปลอมJoke_Air• 1 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยรับฟรีอั่งเปา10ล้าน เชิญเพื่อน10คนมาช่วยพิชิตอั่งเปาwww.luckshopee.appแอคปลอมไม่ระบุชื่อ• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยPM2.5 คือสาเหตุการเกิดมะเร็งปอด‼️ 🏵 วันหยุดวันนี้ ประเทศไทยโดยเฉพาะภาคเหนือก็ยังผจญกับ PM2.5 ในระดับเลวร้าย ประจวบเหมาะวันนี้ Nature เผยแพร่วารสารฉบับล่าสุด (6 เมษายน) ทำปกและ headline เกี่ยวกับ PM2.5 และกลไกการเกิดมะเร็งปอด ซึ่งเป็นงานที่เคยนำเสนอใน ESMO ล่าสุด ลงตีพิมพ์ในฉบับนี้พอดี 🏵 Paper นี้เป็นผลงานของทีม TRACERx นำโดยนักวิจัยจาก UK ร่วมกับอีกหลายประเทศ เริ่มศึกษาจากมะเร็งปอดชนิด non-small cell lung cancer (NSCLC) ที่มี EGFR mutation กว่า 3 หมื่นคน มะเร็งปอดที่พบการกลายพันธุ์ของยีนนี้จะพบบ่อยในกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สูบบุหรี่ โดยเฉพาะชาวเอเชีย พบว่าอุบัติการณ์ของโรคสัมพันธ์กับระดับ PM2.5 ในพื้นที่ของผู้ป่วยอย่างชัดเจน จากกราฟเทียบระดับ PM2.5 ที่ 10 กับ 40μg/m3 จะเห็นว่าอัตราเกิดมะเร็งปอดต่างกันราว 7 เท่า 🏵 การศึกษาในหนูที่สร้างขึ้นมาให้มีการกลายพันธุ์ของยีน EGFR ในเนื้อปอด หายใจอากาศที่มี PM2.5 ต่างกันคือ 0, 5 และ 50μg/m3 เป็นเวลา 10 สัปดาห์ แล้วเอาเนื้อปอดมาตรวจดูจะเห็นชัดว่ามี PM2.5 สะสมในปอดหนูต่างกันมาก และจำนวนจุดที่พบการขยายตัวของกลุ่มเซลล์เนื้องอกที่มียีน EGFR mutation ในเนื้อปอด (จุดสีต่าง ๆ หลากสีในภาพแถวที่ 2 ด้านขวา) ระหว่างกลุ่มควบคุม (0) กับ 50μg/m3 ก็ต่างชัดเจน พรึ่บไปหมด 🏵 การศึกษาเนื้อปอดของคนปกติ พบว่าเซลล์ปอดของเรามียีน EGFR กลายพันธุ์ได้อยู่แล้วนิดหน่อย เฉลี่ย 1 ใน 550,000 เซลล์ และเมื่อสุ่มตรวจพบว่าคนปกติ 18% มียีนนี้กลายพันธุ์อยู่แล้ว และสัดส่วนเพิ่มขึ้นตามอายุ 🏵 เมื่อหายใจเอา PM2.5 เข้าไปสะสมในเนื้อปอด ส่งผลกระตุ้นการอักเสบ เกิดการลุกฮือของเซลล์ macrophage เข้ามารุมและปล่อย interleukin-1 (IL-1) ออกมา ซึ่ง IL-1 นี่เองที่กระตุ้นให้เซลล์ปอดที่มี EGFR mutation อยู่เดิมเปลี่ยนพฤติกรรมไปเป็น cancer stem cells เป็นจุดเริ่มของการขยาย clone ของเซลล์มะเร็ง (การทดสอบพบว่าการยับยั้ง IL-1 ด้วยยา canakinumab สามารถหยุดกระบวนการนี้ได้) 🏵 โดยสรุป PM2.5 เป็นเหตุของการเกิดมะเร็งโดยเฉพาะที่มีการกลายพันธุ์ของยีน EGFR ซึ่งพบบ่อยที่สุดในคนเอเชียรวมถึงคนไทยด้วย แม้ว่าการกลายพันธุ์ของยีนนี้เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติและเพิ่มขึ้นตามอายุ แต่การกระตุ้นให้เซลล์ที่มียีนกลายพันธุ์เติบโตเพิ่มจำนวนจนกลายเป็นมะเร็งต้องอาศัย PM2.5 การป้องกัน/ลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดที่ดีสุดคือการเลี่ยง PM2.5 ครับ 🏵 ไม่ควรจะเห็นใครที่ยังตะแบงบอกไม่มีข้อมูลว่า PM2.5 มีผลต่อสุขภาพโดยเฉพาะมะเร็งปอดอีก และเลิกทำอะไรหน่อมแน้มแบบที่ผ่านมา ควรเอาจริงเอาจังกับปัญหาได้แล้วครับ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.nature.com/articles/s41586-023-05874-3มะเร็งภาคเหนือสภาพอากาศผู้บริโภคเฝ้าระวังไม่ระบุชื่อ• 2 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ