โรคฝีดาษลิง หรือไข้ทรพิษลิง (Monkeypox) เกิดจากไวรัส Othopoxvirus ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกันกับเชื้อไวรัสโรคฝีดาษ หรือไข้ทรพิษ พบในสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ ปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีการรักษาหรือมีวัคซีนป้องกันโดยเฉพาะ แต่สามารถควบคุมการระบาดได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคฝีดาษ สามารถช่วยป้องกันได้ 85%
อาการเป็นอย่างไร?
โรคฝีดาษลิง ต่างจากโรคฝีดาษทั่วไป โดยมีอาการที่สังเกตได้ คือ หลังจากที่สัมผัสเชื้อไปแล้วประมาณ 12 วัน ผู้ป่วยอาจมีอาการแสดง ได้แก่
ระยะก่อนออกผื่น (Invasion Phase)
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดหัว ปวดตัว ปวดหลัง อ่อนเพลีย และต่อมน้ำเหลืองโต
โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาการต่อมน้ำเหลืองโต เป็นอาการที่สังเกตได้ของโรคฝีดาษลิง ซึ่งแตกต่างจากโรคอื่นๆ ที่มีตุ่มน้ำตามมา เช่น โรคอีสุกอีใส (Chickenpox) , โรคหัด (Measles) , โรคฝีดาษ หรือไข้ทรพิษ (Smallpox)
อาจมีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย อาเจียน และอาการทางระบบหายใจ เช่น เจ็บคอ ไอ เหนื่อย ได้อีกด้วย
ระยะออกผื่น (Skin Eruption Phase)
หลังจากมีไข้ประมาณ 1-3 วัน จะเริ่มมี
อาการเป็นอย่างไร?
โรคฝีดาษลิง ต่างจากโรคฝีดาษทั่วไป โดยมีอาการที่สังเกตได้ คือ หลังจากที่สัมผัสเชื้อไปแล้วประมาณ 12 วัน ผู้ป่วยอาจมีอาการแสดง ได้แก่
ระยะก่อนออกผื่น (Invasion Phase)
เริ่มด้วยมีไข้ ปวดหัว ปวดตัว ปวดหลัง อ่อนเพลีย และต่อมน้ำเหลืองโต
โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาการต่อมน้ำเหลืองโต เป็นอาการที่สังเกตได้ของโรคฝีดาษลิง ซึ่งแตกต่างจากโรคอื่นๆ ที่มีตุ่มน้ำตามมา เช่น โรคอีสุกอีใส (Chickenpox) , โรคหัด (Measles) , โรคฝีดาษ หรือไข้ทรพิษ (Smallpox)
อาจมีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ท้องเสีย อาเจียน และอาการทางระบบหายใจ เช่น เจ็บคอ ไอ เหนื่อย ได้อีกด้วย
ระยะออกผื่น (Skin Eruption Phase)
หลังจากมีไข้ประมาณ 1-3 วัน จะเริ่มมี
โรคฝีดาษลิง พบไม่บ่อย แต่อันตรายถึงชีวิต - อาการอย่างไร? ติดต่อทางไหน? - โรงพยาบาลศิครินทร์
https://www.sikarin.com/health/โรคฝีดาษลิง-พบไม่บ่อย-แตHome > โรคฝีดาษลิง พบไม่บ่อย แต่อันตรายถึงชีวิต – อาการอย่างไร? ติดต่อทางไหน?แพทย์หญิงวรฉัตร เรสลีอายุรแพทย์เฉพาะทางโรคติดเชื้อทำความรู้จักกับโรคฝีดาษลิง เกิดจากอะไร?โรคฝีดาษลิง หรือไข้ทรพิษลิง (Monk