โรคนอนไม่หลับ หรืออาการหลับยาก ถือว่าเป็นอาการที่พบได้ทั่วไปในกลุ่มคนทุกช่วงวัย โดยส่วนมากมักจะมีต้นเหตุมาจากความเครียดและความวิตกกังวล และสาเหตุอื่นๆที่พบได้น้อยกว่าเช่น โรคซึมเศร้า อาการเจ็บปวด หรือผลข้างเคียงจากยาบางชนิด และบางครั้งอาการนอนไม่หลับก็ไม่ได้มีแค่หนึ่งต้นเหตุ ทำให้ผู้ป่วยบางคนไม่สามารถรักษาอาการนอนไม่หลับให้หายขาดได้ กัญชาทางการแพทย์จึงเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกและความหวังใหม่ที่ช่วยให้นอนหลับง่ายและสบายขึ้น
กัญชาทางการแพทย์/ยาระงับประสาท
การที่กัญชาทางการแพทย์สามารถช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับดีขึ้นได้ก็เพราะว่ากัญชานั้นออกฤทธิ์ได้เหมือนยาระงับประสาทครับ โดยผู้ป่วยที่ได้ลองใช้กัญชาจะรู้สึกถึงความผ่อนคลายไปจนถึงง่วงนอนได้เลย อีกทั้งยังมีการพัฒนากัญชาทางการแพทย์บางสายพันธ์สำหรับรักษาโรคนอนไม่หลับโดยเฉพาะ ซึ่งเอฟเฟคท์การทำให้นอนหลับดีขึ้นจะมาจากสารแคนนาบินอยที่พบได้ในกัญชาคือ THC นั่นเอง
กัญชาช่วยให้นอนหลับได้อย่างไร
อย่างไรก็ตาม การใช้ปริมาณที่พอดีและไม่เยอะเกินไปนั้นมีประโยชน์หลายอย่างรวมถึงการช่วยเรื่องโรคนอนไม่หลับ แต่ถ้าใช้มากเกินไป ประโยชน์ที่เคยมีก็จะสูญเปล่า และอาจจะถูกแทนที่ด้วยอาการทางจิตอย่างเช่นอาการวิตกกังวลแทนได้ ดังนั้นควรจะใช้รักษาภายใต้การดูแลของแพทย์จะดีที่สุดครับ
การใช้กัญชาเพื่อช่วยในการนอนหลับนั้นช่วยลดวงจร REM Sleep (วงจรที่เวลาหลับแล้วจังหวะชีพจรและการหายใจจะเร็วขึ้น เป็นช่วงที่ทำให้เกิดการฝัน และสมองใช้งานหนักพอๆกับตอนตื่น) และช่วยให้หลับลึก แต่ถ้าใช้ไปนานๆเข้า อาการหลับลึกก็อาจจะน้อยลง รวมถึงสารTHCก็จะทำให้หลับเร็วขึ้นได้ด้วยครับ
ใช้กัญชารักษาปลอดภัยแค่ไหน
ในตอนนี้งานวิจัยเกี่ยวกับกัญชารักษาโรค รวมไปถึงโรคนอนไม่หลับ อาจจะยังใหม่อยู่และมีไม่มากนัก ดังนั้นจะพูดว่ากัญชาเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดของการรักษาโรคนอนไม่หลับนั้นก็อาจจะยังไม่ได้ในตอนนี้ และเราเองก็ไม่อาจแก้ปัญหานอนไม่หลับด้วยปลายเหตุโดยใช้กัญชาเป็นตัวเลือกแรก แต่ก็อาจจะเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าการใช้ยานอนหลับเพราะกัญชาทางการแพทย์อาจจะทำให้หลับนานกว่าและหลับสนิทกว่าการใช้ยานอนกลับ ที่มีผลข้างเคียงมากกว่าการใช้กัญชา
ตามที่บอกไปข้างต้นนะครับ อาการนอนไม่หลับ นั้นมีหลายสาเหตุ และไม่ควรใช้กัญชาเป็นการรักษาอย่างแรกถ้าไม่เคยรับการรักษาอย่างอื่น ซึ่งบางครั้งอาจจะมีวิธีแก้ปัญหาอื่นๆเช่นการออกกำลังกาย การทำสมาธิ หรือการใช้สมุนไพรบำบัดที่ทำให้หลับง่ายขึ้นและไม่มีผลข้างเคียง แต่ถ้าลองมาหลายวิธีแล้วไม่หายขาด ก็อาจจะปรึกษาแพทย์และใช้กัญชาบำบัดควบคู่ไปได้เช่นกันครับ
โรคนอนไม่หลับจะรักษาง่ายกว่าถ้าลองใช้วิธีรักษาหลายๆทาง และการจัดการกับความเครียด กัญชาบำบัดก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกได้ครับ
กัญชาทางการแพทย์/ยาระงับประสาท
การที่กัญชาทางการแพทย์สามารถช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับดีขึ้นได้ก็เพราะว่ากัญชานั้นออกฤทธิ์ได้เหมือนยาระงับประสาทครับ โดยผู้ป่วยที่ได้ลองใช้กัญชาจะรู้สึกถึงความผ่อนคลายไปจนถึงง่วงนอนได้เลย อีกทั้งยังมีการพัฒนากัญชาทางการแพทย์บางสายพันธ์สำหรับรักษาโรคนอนไม่หลับโดยเฉพาะ ซึ่งเอฟเฟคท์การทำให้นอนหลับดีขึ้นจะมาจากสารแคนนาบินอยที่พบได้ในกัญชาคือ THC นั่นเอง
กัญชาช่วยให้นอนหลับได้อย่างไร
อย่างไรก็ตาม การใช้ปริมาณที่พอดีและไม่เยอะเกินไปนั้นมีประโยชน์หลายอย่างรวมถึงการช่วยเรื่องโรคนอนไม่หลับ แต่ถ้าใช้มากเกินไป ประโยชน์ที่เคยมีก็จะสูญเปล่า และอาจจะถูกแทนที่ด้วยอาการทางจิตอย่างเช่นอาการวิตกกังวลแทนได้ ดังนั้นควรจะใช้รักษาภายใต้การดูแลของแพทย์จะดีที่สุดครับ
การใช้กัญชาเพื่อช่วยในการนอนหลับนั้นช่วยลดวงจร REM Sleep (วงจรที่เวลาหลับแล้วจังหวะชีพจรและการหายใจจะเร็วขึ้น เป็นช่วงที่ทำให้เกิดการฝัน และสมองใช้งานหนักพอๆกับตอนตื่น) และช่วยให้หลับลึก แต่ถ้าใช้ไปนานๆเข้า อาการหลับลึกก็อาจจะน้อยลง รวมถึงสารTHCก็จะทำให้หลับเร็วขึ้นได้ด้วยครับ
ใช้กัญชารักษาปลอดภัยแค่ไหน
ในตอนนี้งานวิจัยเกี่ยวกับกัญชารักษาโรค รวมไปถึงโรคนอนไม่หลับ อาจจะยังใหม่อยู่และมีไม่มากนัก ดังนั้นจะพูดว่ากัญชาเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดของการรักษาโรคนอนไม่หลับนั้นก็อาจจะยังไม่ได้ในตอนนี้ และเราเองก็ไม่อาจแก้ปัญหานอนไม่หลับด้วยปลายเหตุโดยใช้กัญชาเป็นตัวเลือกแรก แต่ก็อาจจะเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าการใช้ยานอนหลับเพราะกัญชาทางการแพทย์อาจจะทำให้หลับนานกว่าและหลับสนิทกว่าการใช้ยานอนกลับ ที่มีผลข้างเคียงมากกว่าการใช้กัญชา
ตามที่บอกไปข้างต้นนะครับ อาการนอนไม่หลับ นั้นมีหลายสาเหตุ และไม่ควรใช้กัญชาเป็นการรักษาอย่างแรกถ้าไม่เคยรับการรักษาอย่างอื่น ซึ่งบางครั้งอาจจะมีวิธีแก้ปัญหาอื่นๆเช่นการออกกำลังกาย การทำสมาธิ หรือการใช้สมุนไพรบำบัดที่ทำให้หลับง่ายขึ้นและไม่มีผลข้างเคียง แต่ถ้าลองมาหลายวิธีแล้วไม่หายขาด ก็อาจจะปรึกษาแพทย์และใช้กัญชาบำบัดควบคู่ไปได้เช่นกันครับ
โรคนอนไม่หลับจะรักษาง่ายกว่าถ้าลองใช้วิธีรักษาหลายๆทาง และการจัดการกับความเครียด กัญชาบำบัดก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกได้ครับ
การใช้กัญชากับ “โรคนอนไม่หลับ - Cannhealth
https://www.cannhealth.org/content/2464/insomnia#:~:text=%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3&text=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2,%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9Aโรคนอนไม่หลับ หรืออาการหลับยาก ถือว่าเป็นอาการที่พบได้ทั่วไปในกลุ่มคนทุกช่วงวัย โดยส่วนมากมักจะมีต้นเหตุมาจากความเครียดและความวิตกกังวล และสาเหตุอื่นๆที่พบได้น้อยกว่าเช่น โรคซึมเศร้า อาการเจ็บปวด หรือ