1 คนสงสัย
ลดความอ้วน
ไม่ทานข้าวเช้าจะทำให้อ้วนจริงหรอ?
thanyathon8865
 •  3 ปีที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น

ลดความอ้วน

Poonato head เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

วิจัยของนักโภชนาการญี่ปุ่น แสดงให้เราเห็นว่าการอดอาหารเช้า ไม่มีผลต่ออัตราการเผาผลาญพลังงานในแต่ละวันด้วยซ้ำ นั่นแปลง่ายๆ อย่างตรงไปตรงมาว่า

ที่มา

https://thestandard.co/lifestyle-wellness-breakfast-benefits/
https://www.fitterminal.com/อดอาหารเช้า-จำเป็นไหม/

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    อย.เตือนอย่าซื้อผลิตภัณฑ์อ้างลดอ้วน ‘De2xy และ Me2shape’ เสี่ยงอันตราย
    อย.เตือนสาวอยากผอมระวัง อย่าซื้อผลิตภัณฑ์อวดอ้างลดอ้วน De2xy และ Me2shape พบเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่ขออนุญาตกับ อย. แถมโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เสี่ยงได้รับอันตรายถึงชีวิต นพ.พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้บริโภคให้ตรวจสอบการโฆษณาผลิตภัณฑ์ “De2xy และ Me2Shape” ซึ่งพบว่ามีการโฆษณาอ้างสรรพคุณเกินจริงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ นั้น อย.ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบการโฆษณาสรรพคุณอ้างลดน้ำหนักทางเฟซบุ๊กชื่อ Sunisa Lv’tl แสดงข้อความในทำนองช่วยควบคุมน้ำหนัก เปลี่ยนหุ่นเสีย เป็นหุ่นสวย เพราะมีตัวช่วยหุ่นดีที่ไม่ต้องอด ก็ลดได้ เพียงแค่วันละ 1 - 2 แคปซูล ซึ่งข้อความเหล่านี้เป็นการโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาตและโอ้อวดสรรพคุณเกินจริง เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ อย.ได้สั่งระงับการโฆษณาและดำเนินการทางกฎหมายกับผู้โฆษณาแล้ว นอกจากนี้ จากการสืบค้นข้อมูลในระบบตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ไม่พบข้อมูลการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหารในชื่อดังกล่าวแต่อย่างใด พร้อมกันนี้ได้ประสานเจ้าหน้าที่ตำรวจสืบหาต้นตอแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์ต่อไป รองเลขาธิการ อย. กล่าวต่อว่า ขอเตือนภัยสาวอยากผอมพึงระวัง อย่าตกเป็นเหยื่อหลงเชื่อคารมการโฆษณาเกินจริงจากผู้ขายโดยเด็ดขาด นอกจากจะไม่ได้ช่วยให้น้ำหนักลดลงแล้ว ยังส่งผลเสียต่อสุขภาพกรณีเป็นยาลดความอ้วนส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ลดความอยากอาหาร เป็นยาที่กระตุ้นประสาทส่วนกลางการใช้จะทำให้น้ำหนักลดลงได้ขณะรับประทานยา แต่น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อหยุดยา หรือที่เรียกว่า yo-yo effect และผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่พบบ่อย คือ นอนไม่หลับ เวียนศีรษะ วิตกกังวล ตาพร่า ดังนั้น การใช้ยาเพื่อลดความอ้วน ต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญเท่านั้น อย่าซื้อยามารับประทานเอง ส่วนกรณีเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ได้ขออนุญาตอย่างถูกต้อง มักตรวจพบว่ามีการผสมยาหรือสารอันตราย ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ พร้อมเตือนผู้ขายอย่าโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพอวดอ้างลดความอ้วนผ่านสื่อทุกช่องทาง ถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย หากตรวจพบจะถูกดำเนินคดีทันที ทั้งนี้ หากผู้บริโภคพบเห็นการอวดอ้างโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องสงสัย สามารถแจ้งร้องเรียนได้ที่ สายด่วน อย. 1556 หรือที่ E-mail: 1556@fda.moph.go.th หรือ ตู้ ปณ. 1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 หรือร้องเรียนผ่าน Oryor Smart Application หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดทั่วประเทศ
    std47993
     •  9 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดความอ้วน "จัสมี" อย. ชี้ โฆษณาเกินจริง พร้อมถอดเลข อย. ออกแล้ว
    พบการผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร จัสมี ทางผู้ใช้เฟซบุ๊กชื่อ “เจ้สวย” โฆษณาโดยระบุสรรพคุณ “... สูตรเด็ด ๒ ตัวยา “บล็อค” เน้นๆ ดักจับแป้ง,น้ำตาล... “เบิร์น” รัว ๆ กระชับสัดส่วน...บวมออกแขนขาท้าเลย... “พุงยุบ” เร่งเผาผลาญ ไม่ต้องอดก็ลดได้... บอกลา หุ่นพังๆ” และระบุเลข อย. 10-1-20960-5-0120 ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ดำเนินการตรวจสอบแล้ว พบว่า เป็นข้อมูลเท็จ เนื่องจากการโฆษณาสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ไม่ได้รับอนุญาตจาก อย. เมื่อตรวจสอบสถานะการอนุญาต พบว่าผลิตภัณฑ์เลขสารบบอาหาร 10-1-20960-5-0120 ได้ถูกยกเลิกแล้ว เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 ทั้งนี้ อย.ได้สั่งระงับการโฆษณาทางออนไลน์ทั้งหมด และดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิดแล้ว จึงขอเตือนภัยผู้บริโภคอย่าได้หลงเชื่อซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณลดความอ้วน วิธีการลดน้ำหนักที่ดีที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินและควบคุมอาหาร ไม่กินอาหารพร่ำเพรื่อ ควรกินอาหารที่หลากหลายในสัดส่วนที่เหมาะสม ลดการกินอาหาร หวาน มัน เค็ม รวมทั้งควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ อย. ไม่เคยอนุญาตให้ผลิตภัณฑ์อาหารโฆษณาไปในทางลดน้ำหนัก หากพบผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัย สามารถแจ้งร้องเรียนได้ที่สายด่วน อย.1556 หรือตรวจสอบเลขผลิตภัณฑ์ผ่านทาง Oryor Smart Application หรือเว็บไซต์ อย. www.fda.moph.go.th
    std47993
     •  9 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ลดความอ้วน
    การดื่มน้ำเป็นประจำทุกวันหรือเยอะๆ จะช่วยลดน้ำหนักจริงหรอ
    Rujipon
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    น้ำมะพร้าวช่วยละความอ้วนจริงไหม
    พอดีเห็นคนอื่นรีวิวในเฟส
    Amiroh e-tar (TNSU)
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    กาแฟดำใส่มะนาว ลดความอ้วนได้จริงไห
    กาแฟดำใส่มะนาว น่าจะเป็นเมนูเครื่องดื่มที่หลายคนได้ลิ้มชิมรสกันมาบ้างแล้ว หรืออาจจะเคยได้ยินมาด้วยว่ากาแฟดำใส่มะนาวสามารถช่วยลดความอ้วนได้ ทว่าข้อมูลนี้จริงเท็จแค่ไหน
    std48036
     •  9 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผู้ป่วยโรคอ้วน หากติดเชื้อโควิด-19 อาจจะมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตง่ายกว่าคนสุขภาพแข็งแรงจริงหรือ
    แพทย์หญิง พิมพ์ใจ อันทานนท์ สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ผู้ป่วยโรคอ้วน เป็นกลุ่มที่มีภูมิคุ้มต่ำ หากติดเชื้อโควิด-19 อาจจะมีอาการรุนแรงและเสียชีวิตง่ายกว่าคนที่มีสุขภาพแข็งแรง จริงหรือ
    anonymous
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กาแฟลดความอ้วน ลดหุ่นได้จริงหรือมั่ว!?
    กาแฟลดความอ้วน ลดหุ่นได้จริงหรือมั่ว!?
    Mrs.Doubt
     •  9 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    นอนดึกทำให้อ้วนจริงไหมคะ
    นอนดึกทำให้อ้วนขึ้นจริงไหมคะ
    แม่อย่าวีน
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ ที่ไม่ควรบริโภคทุเรียนเกินวันละ 2 เม็ดเพราะจะทำให้เสี่ยงโรคอ้วนได้
    กรมอนามัย เตือนว่า ทุเรียนจัดอยู่ในอาหารกลุ่มผลไม้ ที่มีวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ รวมทั้งเป็นแหล่งของคาร์โบไฮเดรต หากต้องการกินทุเรียนให้ได้รับประโยชน์และคุณค่าทางสารอาหารที่เหมาะสม ไม่ควรกินทุเรียนเกินวันละ 2 เม็ด
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ มีผลสำรวจออกมาว่าช่วงหยุดโควิดบาว ทำให้เด็กไทยอ้วนขึ้น เสี่ยงเป็นเบาหวาน
    โครงการเด็กไทยดูดีมีพลานามัย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ้มสุขภาพ หรือ สสส. ได้สำรวจสุขภาวะเด็กไทยในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ที่เด็กปิดเทอมต้องอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ โดยพบว่า เด็กมีภาวะอ้วนแนวโน้มสูงขึ้นโดยเฉพาะโรงเรียนเอกชนในเขตกรุงเทพฯ นอกจากนี้ ได้สำรวจภาวะสุขภาพโรงเรียนเครือข่ายในกรุงเทพฯ 6 แห่ง พบว่าเด็กอ้วน 1 ใน 3 มีความดันโลหิตสูงกว่าเด็กปกติและพบเด็กอ้วนคอปื้นดำ ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนถึงโรคเบาหวานร้อยละ 10 ผลการตรวจเลือดร้อยละ 6 มีภาวะน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์เริ่มเสี่ยงต่อเบาหวาน และ 3 ใน 4 มีไขมันในเลือดสูง เสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false