1 คนสงสัย
เคสลวงโลก
สื่อโซเชียลมีทั้งมุมดีๆและด้านที่แย่ๆ ปะปนกันไป...อยู่ที่ใครจะเลือกเสพให้เป็นประโยชน์แก่ตัวเอง ทั้งในแง่สาระความรู้ความบันเทิง หรือแม้แต่จิตอาสายังประโยชน์ ส่วนรวม!!โลกโซเชียลสามารถร้อยรัดความเป็นหนึ่งในด้านดี กระทั่งสร้างความแตกแยกให้เกิดในสังคม สุดแล้วแต่สำนึกความรับผิดชอบของแต่ละคนจะเลือกทางใด?

สัก 3-4 วันก่อน มีเรื่องน่าคิดที่เกิดจากการสร้างกระแสในโลกโซเชียล นำพาไปสู่สิ่งที่คาดไม่ถึง ถึงขนาดหลอกลวงสังคมให้เกิดความไม่สบายใจแก่หลายฝ่าย
std47990
 •  1 ปีที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น

มีม

Joke Air เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

ที่มา

8 ส.ค. 2562 05:01 น.
บันเทิง
ข่าวบันเทิง
แจ๋วริมจอ
เคสลวงโลก
...

สื่อโซเชียลมีทั้งมุมดีๆและด้านที่แย่ๆ ปะปนกันไป...อยู่ที่ใครจะเลือกเสพให้เป็นประโยชน์แก่ตัวเอง ทั้งในแง่สาระความรู้ความบันเทิง หรือแม้แต่จิตอาสายังประโยชน์ ส่วนรวม!!

เคสลวงโลก
โลกโซเชียลสามารถร้อยรัดความเป็นหนึ่งในด้านดี กระทั่งสร้างความแตกแยกให้เกิดในสังคม สุดแล้วแต่สำนึกความรับผิดชอบของแต่ละคนจะเลือกทางใด?

สัก 3-4 วันก่อน มีเรื่องน่าคิดที่เกิดจากการสร้างกระแสในโลกโซเชียล นำพาไปสู่สิ่งที่คาดไม่ถึง ถึงขนาดหลอกลวงสังคมให้เกิดความไม่สบายใจแก่หลายฝ่าย

นั่นก็คือเรื่องราวของ “ตาเคน” ที่เข้ามาอยู่ในโลกโซเชียลและมีการพูดถึงกันอย่างกว้างขวาง ต่อมาขยายความไปสู่สื่อโทรทัศน์จับประเด็นมาเล่นกันครึกโครม!!
...
ภาพตาเคนขายโจ๊กริมทาง อยู่ตัวคนเดียว ลูกค้าไม่เหลียวแลจะซื้อกิน ลูกเสียชีวิตไปในอุบัติเหตุคดีxxxxx 9 ศพ สังคมสงสารจับใจ โอนเงินเข้าบัญชีให้...

ล้วนเป็นเรื่องอุปโลกน์ขึ้นมาทั้งสิ้น... แล้ววันหนึ่งก็มีรถเก๋งมารับตาเคนไปจากที่พัก หายลับเข้ากลีบเมฆ เสกตัวเองเป็นเศรษฐีในพริบตา จากน้ำใจไมตรีของเพื่อนร่วมชาติ (ว่ากันว่าได้เงินบริจาคนับล้านบาท)

สื่อโซเชียลสร้างเรื่องขึ้นมาตบตาชาวไทย โชคดีที่ยังมีสื่อโซเชียลดีๆ ขุดคุ้ยความจริงมาตีแผ่ให้สังคมได้รับรู้พฤติกรรมลวงโลกครั้งนี้

หากมีครั้งต่อไปและต่อๆไป สังคมจะเชื่อได้อย่างไรว่านั่นคือเรื่องจริง หรือเป็นการ อุปโลกน์ขึ้นมาเพื่อจะล่อลวงเงินจากกระเป๋าชาวบ้านที่มีจิตใจงดงาม

มิจฉาชีพทุกรูปแบบล้วนฝังตัวอยู่ในโลกโซเชียล รอโอกาสและจังหวะที่จะรุมเร้าทำร้ายสังคม ไม่ต่างจากกลุ่มแก๊ง ตาเคนที่ฉกฉวยเอาความรู้สึกของผู้คนที่มีเมตตาเป็นเหยื่อของความเลว

เคสอย่างตาเคนลวงโลกคงไม่หยุดเพียงเท่านี้ แต่จะมีตาเคน 2-3-4 ตามมาอีกไม่ช้าก็เร็ว

ชาวโซเชียลเองก็คงต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสียบ้าง อย่าสักแต่เห็นอะไรตรงหน้าแล้วเชื่อมั่นไปหมด จะโพสต์หรือสร้างกระแสอะไรก็ต้องคิดให้ถี่ถ้วน เพื่อเอาความจริงลงบนสื่อโซเชียลเท่านั้น

เพราะความเสียหายมันใหญ่หลวงนัก!!

แจ๋วริมจอ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ผู้หญิงที่ย้อมสีผมบ่อย เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม มากขึ้น 60% จริงหรือ
    มีการแชร์ในโลกโซเชียล ผู้หญิงที่ย้อมสีผมบ่อย จะมีความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านมมากกว่าปกติ ถึง 60%
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    มีคนที่ประเทศอเมริกาติดเชื้อโควิด19 จากการสัมผัสถุงช้อปปิ้งหรือการรับของที่ส่งมาที่บ้าน มันเกิดขึ้นได้ จริงหรือไม่
    จากกรณที่มีการแชร์ในโลกโซเชียลว่า ผู้หญิงจากเมือง North Carolina สหรัฐอมเริกา ไม่ได้ออกจากบ้านเลยเป็นเวลา 3 อาทิตย์ แต่อยู่ๆก็มีอาการตัวร้อน เป็นไข้ หายใจลำบาก พอไปตรวจโรค พบว่าติดเชื้อโควิด 19 จากการสืบค้นประวัติพบว่าเธอได้รับเชื้อจากการสัมผัสถุงช้อปปิ้งที่คนส่งของ จากร้านซุปเปอร์มารเกต์เอามาส่งให้เธอทุกวัน และพบว่าคนส่งของมีเชื้อบวกแต่ไม่แสดงอาการ
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การระบาดของโควิดรอบสองในไทย ต้นตอมาจากลักลอบเข้ามาผิดกฎหมายจาก จ. ระนอง จริงหรือ
    มีข้อมูลข่าวสารในสื่อโซเชียล ได้กล่าวว่ามีการลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายของแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ จ.ระนอง และเข้ามาทำงานในไทย จนเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค Covid -19 ในพื้นที่ จ.สมุทรสาคร จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตำรวจจับกุมเยาวชนผูกเชือก มือไขว้หลัง แยกปทุมวัน เป็นภาพข่าวลวง
    มีภาพแชร์กันว่อนโซเชียลว่า มีภาพเยาวชนถูกผูกเชือกจับกุมที่แยกปทุมวันด้วยเหตุชุมนุม จากการตรวจสอบ พบว่า เป็นภาพเก่าที่สื่อต่างประเทศนำเสนอภาพนักศึกษาฮ่องกง ที่ประท้วงยืดเยื้อ และถูกจับกุมเมื่อ 19 พ.ย.62 ไม่ใช่ ภาพเหตุการณ์ในเมืองไทย ที่เกิดจากการสลายการชุมนุมที่แยกปทุมวัน กทม. เมื่อ 16 ตุลาคม 2563 แต่อย่างใด กรุณาอย่าส่งต่อ เพื่อสร้างความแตกแยก
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ ไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของภาครัฐ .
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ ไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของภาครัฐ . ตามที่มีการบอกต่อข้อมูลในสื่อโซเชียลเกี่ยวกับประเด็นไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของภาครัฐ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ,เทศบาลนครยะลา และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่าข้อมูลดังกล่าวนั้นเป็นข้อมูลเท็จ . จากกรณีที่มีการบอกต่อข้อความบนสื่อโซเซียลโดยระบุไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง เจ้าหน้าที่ภาครัฐระดับสูง ทางสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ,เทศบาลนครยะลา และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ไลน์ดร. เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งข้อความขอยืมเงิน,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่งข้อความขอรับเงินบริจาคทำบุญสร้างห้องน้ำสาธารณะ,ไลน์รมว.ศึกษาธิการ ส่งข้อความขอยืมเงิน,ไลน์นายกเทศมนตรี จ.ยะลา ส่งข้อความขอยืมเงิน และไลน์ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส่งข้อความขอยืมเงิน ไลน์ดังกล่าวเป็นของมิจฉาชีพทั้งหมด ที่แอบอ้างใช้ชื่อของหน่วยงานรัฐ และที่มีการแอบอ้างใช้ชื่อรูปภาพของเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐระดับสูง ทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและหลงเชื่อ . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.opsmoac.go.th/ หรือโทร 0-2281-5884 ,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://web.parliament.go.th หรือโทร 0-2242-5900 ,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://ops.moe.go.th/ หรือโทร 02-628-6346 ,เทศบาลนครยะลา สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://yalacity.go.th/intro/?v=1 หรือโทร 073-223666 และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.m-society.go.th/ หรือโทร 1300 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ไลน์ดังกล่าวเป็นของมิจฉาชีพ ที่แอบอ้างใช้ชื่อของหน่วยงานรัฐ และที่มีการแอบอ้างใช้ชื่อรูปภาพของเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐ ทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและหลงเชื่อ . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ,เทศบาลนครยะลา และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . LINE : @antifakenewscenter (http://nav.cx/uyKYnsG) Website : https://www.antifakenewscenter.com/ Twitter: https://twitter.com/AFNCThailand สายด่วน : ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพื่อประชาชน 1111 ต่อ 87 . #ข่าวปลอม #ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม #AntiFakeNewsCenter #AFNCThailand #ไลน์ปลอม #แอบอ้าง #มิจฉาชีพ
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กัมพูชาเคลม ทิม พิธา เป็นคนเขมร พร้อมโชว์หลักฐานยืนยัน
    แต่ดูเหมือนว่านอกจากกระแสว่าที่นายกรัฐมนตรีคนที่ 30 เมืองไทย จะไม่ได้แค่ฟีเวอร์เพียงในประเทศเท่านั้น กลับมีสื่อต่างชาติมากมายบินลัดฟ้ามาทำข่าว จนหลายประเทศทั่วโลกแห่จับตาว่า ถ้าหากได้เป็นรัฐบาลจะสามารถทำงานด้วยความโปร่งใส และตรงไปตรงมาหรือไม่ ล่าสุดโซเชียลฝั่งกัมพูชา ก็ดูท่าจะสนใจการเปลี่ยนแปลงครั้งใหม่ของประเทศไทยเช่นกัน โดยรอบนี้มีชาวเน็ตรายหนึ่งได้ออกมาโพสต์บอกว่า ‘ทิม-พิธา ลิ้มเจริญรัตน์’ มีเชื้อสายเป็นคนเขมร พร้อมกับแนบหลักฐานรูปในอินตาแกรมของ “ทิม พิธา” ที่เคยโพสต์ไว้ตั้งแต่ปี 2558  พร้อมเขียนข้อความแปลไทยได้ว่า “การเมืองไทยจะขึ้นๆ ลงๆ ก็ยังไม่พ้นเลือดคนพระตะบอง ในการเลือกตั้งเมื่อวานนี้ พิธา ผู้สมัครชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้คะแนนสูงที่ 1 อาจเป็นผู้สืบทอดสายเลือดมารดา (ตามภาพ IG ของ Tim Pita ที่โพสต์พร้อมรูปถ่ายของโรงเรียนเก่าพระตะบอง ในปี 2559 คุณยายของเขาเคยอาศัยอยู่ในบ้านนี้เกือบศตวรรษ)” “ขณะเดียวกัน พรรคประชาธิปัตย์ยังมีเหลนของ ควง อภัยวงค์ ที่ได้ลงสมัครชิงตำแหน่งในกรุงเทพฯ แต่ล้มเหลว นายควง อภัยวงค์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าแผ่นดินเจ้าฟ้าคฑาธร ชุ่ม อภัยวงศ์ กษัตริย์องค์สุดท้ายของแห่งพระตะบอง นายควง อภัยวงศ์ ผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ที่เก่าแก่ที่สุดของไทย และยังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 3 สมัยอีกด้วย”
    zxsr
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วัน
    วันนี้ (24 ธ.ค.) ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่มีการโฆษณาทางสื่อโซเชียลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วัน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มที่ระบุสรรพคุณว่า หากทาสามารถช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน นั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่าไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นเพียงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ภายนอกเพื่อทำความสะอาด สวยงามแต่งกลิ่นหอมเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้ โดยเภสัชกรหญิงสุภัทรา บุญเสริม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ด้านสาธารณสุข รักษาราชการแทนรองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ได้ให้ข้อมูลว่า โครงสร้างของจมูกประกอบด้วย 2 ส่วน คือ โครงสร้างส่วนด้านบนเป็นกระดูกแข็ง ด้านล่างเป็นกระดูกอ่อน โดยห่อหุ้มด้วยผิวหนังและไขมัน ดังนั้นครีมที่ทำให้ดั้งโด่งจึงไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างกระดูก ส่งผลให้จมูกโด่งอย่างแน่นอน ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับภายนอกร่างกายของมนุษย์ รวมถึงฟันและเยื่อบุในช่องปาก เพื่อความสะอาด ความสวยงาม แต่งกลิ่นหอมเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้ การโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับเครื่องสำอางที่ทำให้ดั้งโด่งได้อย่างรวดเร็วภายใน 7 วัน ไม่มีอยู่จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณที่โกหก เพราะครีมหรือเซรั่มเป็นเพียงผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ภายนอกเท่านั้น ทั้งนี้ ผู้ผลิตหรือขายผลิตภัณฑ์ที่หลอกลวงสรรพคุณให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด ถือเป็นการโฆษณาที่แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง ทำให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอาง จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 ต้องระวางโทษโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และขอเตือนผู้บริโภคให้คิดก่อนตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีการโฆษณาสรรพคุณต่าง ๆ ว่า ไม่มีผลิตภัณฑ์ใดสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกายได้ ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www.fda.moph.go.th และหากพบเห็นการโฆษณาโอ้อวดเกินจริงขอให้แจ้งร้องเรียนมาที่สายด่วน อย. 1556
    Hathaikan Inmaung
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ห้ามนำน้ำประปามาหุงข้าว จริงหรือ
    โลกโซเชียล ส่งต่อข้อมูล ห้ามนำน้ำประปามาหุงข้าว โดยระบุว่าหากคลอรีนในน้ำประปาเจอกับสารอินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ แล้วจะกลายเป็นสารไตรฮาโลมีเทน หรือสารก่อมะเร็ง
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ มีการเตือนจาก สธ. ให้ประชาชนระวัง ไข้หวัดใหญ่ระบาด แนะอย่าขาดน้ำ
    มีข้อความแชร์กันในโลกโซเชียล กล่าวถึง การระบาดของไข้หวัดใหญ่ที่มีความรุนแรงมาก และให้ป้องกันด้วยการรักษาความชุ่มชื้นของลำคอไม่ให้คอแห้ง ให้ดื่มน้ำอุ่น 50-80 ซีซีส่วนเด็กดื่ม 30-50 ซีซี ไม่ไปสถานที่ที่มีคนมากหากต้องไปให้สวมหน้ากากอนามัย งดทานของทอดอาหารรสจัด และกินวิตามินให้ครบ
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    ปูติน ถือรูปร.9 เป็นภาพตัดต่อ
    โครงการตรวจสอบข้อเท็จจริงแห่งศูนย์สื่อมวลชนศึกษาและวารสารศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งฮ่องกง (HKU Journalism) ชี้ว่าภาพประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน แห่งรัสเซียอัญเชิญ "พระบรมฉายาลักษณ์" ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่แชร์กันทางโลกโซเชียลของไทยเมื่อปลายเดือน ก.พ. เป็นภาพที่ถูกตัดต่อ แท้จริงแล้ว รูปต้นฉบับเดิม คือ ภาพที่ผู้นำรัสเซียถือภาพถ่ายของบิดาขณะเข้าร่วมการเดินขบวนประจำปีที่ชื่อ "การเดินสวนสนามของกรมทหารที่ไม่มีวันตาย" หรือ Immortal Regiment march เมื่อ 9 พ.ค. 2015 เพื่อรำลึกถึงบุคคลในครอบครัวที่ได้ร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการของมหาวิทยาลัยฮ่องกงที่ทำงานร่วมกับเครือข่ายผู้สอนด้านข่าวและสารสนเทศในเอเชีย (Asian Network of News & Information Educators - ANNIE) เผยแพร่การตรวจสอบนี้ทางเว็บไซต์เมื่อ 4 มี.ค. ที่ผ่านมา โดยระบุในรายงานว่าเมื่อ 27 ก.พ. มีผู้โพสต์ภาพที่ถูกตัดต่อทางบัญชีเฟซบุ๊กที่ชื่อ 关羽關羽 (กวนอูกวนอู) โดยบรรยายบนภาพว่า "รัสเซียยืนหยัดได้เพราะบุญคุณของในหลวงร. 9" จนถึงช่วงเช้าตรู่ของ 3 เม.ย. ตามเวลาในไทย มีผู้เข้ามาแสดงความรู้สึกถึง 4,500 ราย ในจำนวนนั้นมีคนเข้ามา "หัวเราะ" ถึงเกือบ 500 บัญชี มีคนแชร์โพสต์นี้ไปเกือบ 500 คน และแสดงความเห็นกว่า 1,000 ครั้ง มีผู้ใช้หลายคนที่ดูเหมือนว่าเชื่อในโพสต์นี้ แต่ก็มีบางส่วนที่แสดงความเห็นเสียดสี
    std48851
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false