1 คนสงสัย
แม้เราไม่เคยสูบบุหรี่ หรือใกล้ชิดคนที่สูบบุหรี่ เราก็อาจเป็นมะเร็งปอดได้จริงหรือ
แม้เราไม่เคยสูบบุหรี่ หรือใกล้ชิดคนที่สูบบุหรี่ เราก็อาจเป็นมะเร็งปอดได้จริงหรือ
Mrs.Doubt
 •  2 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น

มะเร็งผู้บริโภคเฝ้าระวัง

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ล่าสุดมีงานวิจัยของฝรั่งเศสบอกว่า การสูบบุหรี่ ช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด 19 ได้ จริงหรือคะ
    งานวิจัยจากฝรั่งเศสที่ว่าการสูบบุหรี่ช่วยป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สูบบุหรี่ในมัสยิดผิดกฎหมายจริงหรือไม่
    มีการแชร์ว่าสูบบุหรี่ในมัสยิดผิดกฎหมาย
    อึม บัค คึม
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ คนสูบบุหรี่ หากติดโควิด 19 เสี่ยงเกิดอาการรุนแรงกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ถึง 14 เท่า โดยจะเกิดปอดอักเสบอย่างรุนแรงและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
    แพทย์เตือนใครที่สูบบุหรี่ หากติดโควิด-19 มีความเสี่ยงอาการรุนแรงกว่าผู้ไม่สูบถึง 14 เท่า ร้ายแรงที่สุดถึงขั้นเสียชีวิตได้ เนื่องจากการสูบบุหรี่เป็นการทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้กระบวนการกำจัดสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคที่หลุดเข้ามาที่ปอดแย่ลง โดยจะเกิดปอดอักเสบอย่างรุนแรงและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ควันบุหรี่แพร่กระจายเชื้อโควิด 19 ได้จริงหรือ
    มีการแชร์ส่งผ่านทางโลกออนไลน์ว่า การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโควิด 19
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ คนไม่สูบบุหรี่ ก็เสี่ยงเป็นมะเร็งปอด ได้
    มีรายงานการศึกษาพบว่าผู้ป่วยมะเร็งปอดในทวีปเอเชียนั้น 30 – 40 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่มาก่อน โดยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของเพศหญิงนั้นไม่เคยสูบบุหรี่ ซึ่งจะแตกต่างจากประเทศในฝั่งทวีปยุโรป ซึ่งมีเพียงแค่ 10-20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่ไม่เคยสูบบหรี่ แต่กลับป่วยเป็นมะเร็งปอด
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือไม่ ? บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายน้อยกว่าบุหรี่มวน
    ในปัจจุบัน จากผลสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของเยาวชนไทย จำนวน 40,164 คน ทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 1 - 27 พฤษภาคม 2567 พบว่า เยาวชนยังมีความเชื่อว่า บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายน้อยกว่าบุหรี่มวนถึง 50.2% และยังมีความเชื่อว่า นิโคตินเป็นสารที่ทำให้ร่างกายตื่นตัวส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อที่ผิดและยังขาดความรู้ ความตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ระบบทางเดินหายใจ สมอง และ หัวใจ ( แหล่งข้อมูล https://hed.go.th/ ) จากการสัมภาษณ์ เภสัชกร ณภัทร นวลสกุลกฤป เภสัชกร ประจำร้านเภสัชกรอิ่ม จังหวัดมหาสารคาม ได้ให้ข้อมูลว่า อันตรายจากบุหรี่ไฟฟ้า และ บุหรี่มวน มีความอันตรายไม่ต่างกัน ในหลาย ๆ แง่มุม บุหรี่ไฟฟ้าก็มีความอันตรายมากกว่า และเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีภาวะโรคใหม่ที่เกิดขึ้นคือ ภาวะโรคปอดอักเสบจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า และจากการทดสอบเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า และ ไม่สูบบุหรี่ไฟฟ้า พบว่าในผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า มีสาร Vitamin E Acetate อยู่ในปอดจำนวนมาก แต่ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ไฟฟ้าไม่มีสารชนิดนี้เลย ทำให้ตั้งข้อสังเกตได้ว่าสารชนิดนี้มีส่วนที่สร้างความเสียหายแก่ปอด และถูกยืนยันจากบทความของ การวิจัยทางเคมีในพิษวิทยา จาก ACS Publications เว็บไซต์ฐานข้อมูลบทความ และ งานวิจัยต่าง ๆ ทางด้านเคมีและสาขาที่เกี่ยวข้อง ( แหล่งข้อมูล https://pubs.acs.org/doi/10.1021/acs.chemrestox.1c00309 ) เภสัชกร ณภัทร นวลสกุลกฤป ยังกล่าวอีกว่า นิโคตินไม่ใช่สารก่อมะเร็ง แต่ว่าเป็นสารที่ช่วยกระตุ้นให้เซลล์มะเร็งเติบโตได้ดีมากขึ้น สารนิโคตินจึงเป็นสารที่สร้างความเสียหาย และ เพิ่มความเสี่ยงต่อระบบต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อโรคหัวใจ เสี่ยงต่อโรคที่เกี่ยวกับสมอง เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และ เสี่ยงต่อโรคไขมันต่าง ๆ ที่เป็นโรคเรื้อรัง ดังนั้น บุหรี่ไฟฟ้า ไม่ได้อันตรายน้อยกว่า บุหรี่มวน ผู้เชี่ยวชาญเลยแนะนำไม่ให้สูบทั้งบุหรี่ไฟฟ้า และ บุหรี่มวน
    64011215088
     •  14 วันที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มชาหญ้าดอกขาว หรือเคี้ยวมะนาว ช่วยลดความอยากบุหรี่ จริงหรือคะ
    กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แนะนำให้ใช้ชาชงหญ้าดอกขาว เป็นสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ มีชื่อเรียกแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น เช่น หญ้าหมอน้อย หญ้าละออง หรือถั่วแฮะดิน หญ้าดอกขาวมีสารต้านอนุมูลอิสระค่อนข้างสูง อีกทั้งมีสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ เทอร์พีน สเตอรอล และสารกลุ่มไกลโคไซด์ ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้ลิ้นฝาดหรือชา ช่วยลดความอยากสูบบุหรี่ จริงหรือคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การสูบบุหรี่ไฟฟ้าช่วยให้เลิกบุหรี่มวลได้หรือไม่
    รู้หรือไม่ บุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้ช่วยให้เลิกบุหรี่มวน หลายคนเข้าใจผิดว่าบุหรี่ไฟฟ้าเป็นทางเลือกที่ดีในการเลิกบุหรี่มวน แต่จากงานวิจัยและข้อมูลทางการแพทย์ พบว่า บุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้ช่วยให้เลิกบุหรี่มวนได้จริง และยังมีผลเสียต่อสุขภาพอีกมากมาย ข้อมูลจาก https://www.hfocus.org/content/2023/09/28520 จากการสัมภาษณ์ เภสัชกรหญิง อริสา คำรินทร์ เภสัชกรหญิง ร้านยาในจังหวัดมหาสารคาม ให้ข้อมูลว่า การสูบบุรี่ไฟฟ้าไม่ช่วยให้เลิกเลิกบุหรี่มวล แต่เป็นการทำให้เสพติดสารนิโคตินที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งนำไปสู่ โรคหัวใจ ถุงลมโป่งพอง และโรคในระบบทางเดินหายใจ พร้อมกับให้คำแนะนำว่าบุหรี่ไฟฟ้าไม่ใช่ทางออกในการเลิกบุหรี่มวน 1.ไม่ช่วยเลิกบุหรี่: ผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้าเพื่อเลิกบุหรี่มวนส่วนใหญ่จะติดบุหรี่ไฟฟ้าแทน หรือสูบทั้งสองชนิดควบคู่กันไป 2.อันตรายต่อสุขภาพ: บุหรี่ไฟฟ้ามีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อปอด หัวใจ และระบบอื่นๆ ในร่างกาย ผลกระทบอื่นๆ: 1.ไม่ปลอดภัย: แม้จะไม่มีควันบุหรี่ แต่บุหรี่ไฟฟ้าก็ปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตรายออกมา 2.เสพติด: นิโคตินในบุหรี่ไฟฟ้าทำให้เกิดการเสพติดได้เช่นเดียวกับบุหรี่มวน 3.ยังไม่มีข้อสรุปเรื่องความปลอดภัย: งานวิจัยเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ายังไม่ครอบคลุมเพียงพอที่จะยืนยันความปลอดภัยได้ “เลิกบุหรี่มวนดีกว่า แต่บุหรี่ไฟฟ้าไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาทางเลิกบุหรี่ที่ปลอดภัยและได้ผล” เลิกบุหรี่ โทร 1600 หรือปรึกษาที่ร้านยามหาวิทยาลัยมหาสารคาม และร้านยาที่มีเภสัชกรใกล้บ้าน
    Wisit Kongkam
     •  3 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า เพิ่มความเสี่ยงติดโควิด จริงหรือไม่
    ผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า เพิ่มความเสี่ยงติดโควิด จริงหรือไม่
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โทษของบุหรี่
    มีรายงานจากหลายผลการศึกษาว่าการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องสะสมนานหลายปี ไม่เพียงก่อให้เกิดโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอด แต่ยังเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับ ลำไส้ใหญ่ กระเพาะปัสสาวะ ตลอดจนโรคเรื้อรังอื่นๆ เช่น เพิ่มโอกาสเสียชีวิตจากวัณโรค เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานสูงขึ้น 30-40% จอตาเสื่อม การตั้งครรภ์นอกมดลูก โรครูมาตอย
    supriyachosingam
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false