1 คนสงสัย
จริงหรือ คนสูบบุหรี่ หากติดโควิด 19 เสี่ยงเกิดอาการรุนแรงกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ถึง 14 เท่า โดยจะเกิดปอดอักเสบอย่างรุนแรงและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
แพทย์เตือนใครที่สูบบุหรี่ หากติดโควิด-19 มีความเสี่ยงอาการรุนแรงกว่าผู้ไม่สูบถึง 14 เท่า ร้ายแรงที่สุดถึงขั้นเสียชีวิตได้ เนื่องจากการสูบบุหรี่เป็นการทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้กระบวนการกำจัดสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคที่หลุดเข้ามาที่ปอดแย่ลง โดยจะเกิดปอดอักเสบอย่างรุนแรงและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้
naydoitall
 •  4 ปีที่แล้ว
meter: true
1 ความเห็น

โควิด 2019

Ad.tar เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

ปัจจุบันพบผู้สูบบุหรี่ทั่วโลกเพิ่มขึ้นมากกว่า 1.68 พันล้านคน ขณะที่อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่มากกว่า 25 โรคเพิ่มขึ้นเป็น

ที่มา

https://www.tnnthailand.com/content/42287#

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    โควิด ติดแล้ว ปอดจะทำงานไม่เหมือนเดิมตลอดไป จริงหรือไม่
    Don't mean to scare you, folks, but be very cautious, be protective & be safe to you all. ********************************************************** บอย วรพล สิงห์เขียวพงษ์ December 29, 2020 at 4:55 PM โควิด-19 เป็นแล้วโอกาสตายน้อยกว่าห้าเปอร์เซ็นต์ จริงครับ > แต่หายแล้ว ปอดอาจพังตลอดชีวิต > ลิเดีย-แข็งแรง เหลือปอดทำงาน หกสิบเปอร์เซ็นต์ > ล่าสุด...31 ธันวาคม 2563 ผู้ว่าจังหวัดสมุทรสาครน่าจะเป็นเคสนี้ครับ บทความนี้ถูกส่งต่อกันมา ผมพอทราบว่ามีส่วนจริง แต่ให้แน่ใจ จึงส่งไปถามเพื่อนที่เป็น...’หมอ’ ! เขาตอบว่า...จริง !!! > โควิด-19 เป็นแล้วตายก็จบไป แต่ถ้าไม่ตายก็ต้องลุ้น ! > คุยกันครั้งใด เขาบอกผม...พี่อย่าให้เป็นนะ อายุเยอะแล้ว ตายก็ลำบากก่อนตาย ไม่ตายก็แย่ไปตลอดชีวิต ยกมา > "ผมกลัว" ที่จะติดเชื้อ Covid-l9 ผมจึงทำตามที่รัฐบาลบอก คือ "อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ" และจะออกจากบ้าน เมื่อจำเป็นจริง ๆ ผมบอกว่า ผมเชื่อว่าใครที่ติดเชื้อ Covid-l9 จะไม่มีวันกลับไป "ปกติ" เพราะปอดจะไม่ทำงานเต็มร้อยอีกแล้ว > แต่...แต่ก่อนที่จะเสียชีวิต หากคุณติดเชื้อ รู้ไหมว่ามันทรมานแค่ไหน > คุณรู้ไหมว่า การรักษาโรคปอดติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2ol9 หรือ Covid-19 มันไม่ใช่แค่ใส่หน้ากากออกซิเจน แล้วนอนอ่านหนังสือ หรือเล่นโทรศัพท์ อยู่บนเตียงสบาย ๆ ในโรงพยาบาล > เพราะเครื่องช่วยหายใจสำหรับผู้ป่วย Covid-19 (บางคน-ไม่ทุกคน) มันสร้างความเจ็บปวด ต้องสอดท่อลงไปในลำคอและคาไว้ จนกว่าจะหาย หรือตายภายใน 2-3 สัปดาห์ โดยแทบไม่สามารถขยับตัว > การรักษานี้ คนไข้จะถูกจับให้นอนคว่ำกลับหัว มีท่อหายใจต่อจากปากขึ้นไปที่เครื่องช่วยหายใจ ไม่สามารถพูด กิน หรือขับถ่ายได้ตามปกติ แถมเจ็บปวดตลอดเวลา > สิ่งที่แพทย์ช่วยได้ก็คือ ให้ยานอนหลับและยาแก้ปวด เพื่อให้แน่ใจว่าคนไข้สามารถทนต่อความเจ็บจากการใส่ท่อช่วยหายใจ เหมือนอยู่ในอาการโคม่าเทียม > ผ่านไป 20 วัน ผู้ป่วยจะสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ สี่สิบเปอร์เซนต์ และมีแผลในปากหรือหลอดลม เช่นเดียวกับปอด เกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจ > นี่คือสาเหตุหลักที่ทำให้คนแก่ หรือผู้ป่วยโรคอื่น เช่น ความดัน หัวใจ ไม่สามารถทนการรักษาได้ และอาจตายในที่สุด >>> ย้ำ..นี่ไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ ! การให้อาหารเหลวใส่หลอดเข้าไปในท้องของคุณ ไม่ว่าจะผ่านจมูกหรือเส้นเลือด การที่ต้องมีพยาบาลมาช่วยขยับแขนขาทุกสoงชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ และต้องนอนบนเตียงน้ำที่เย็น เพื่อช่วยลดอุณหภูมิ 40 องศาของคุณ "มันไม่ใช่เรื่องสนุก" และคนที่บ้านเป็นทุกข์แน่ ๆ นี่คือหนึ่งในเหตุผล ที่ชาติตะวันตก ปล่อยให้ตาย ไม่รับรักษา เพราะสิ้นเปลือง > ผมกลัว...ผมจึงอยู่บ้าน ถ้าคุณไม่กลัว ก็ตามสบายนะครับ ไม่สวมหน้ากากตอนออกจากบ้าน ไม่รักษาระยะห่าง ไปในที่สุ่มเสี่ยง เป็นเรื่องความรับผิดชอบที่คุณมีต่อครอบครัวของคุณเอง > ที่เล่ามาทั้งหมด ก็เพื่อคนที่คุณรัก เพื่อคนที่รักคุณ และ เพื่อตัวคุณเอง #เรียบเรียงบางส่วนจาก LIND ใครจะหาว่าผมตื่นตูม ก็ตามสะดวก แต่ผมว่าเราต้อง ‘ตื่นตัว’ แม้คนที่เป็น ไม่ทุกคนที่จะมีสภาพนี้ แต่ก็มีไม่น้อยที่หายแล้วปอดไม่เต็มร้อย > ผมว่าปอดพังเร็วมาก ยิ่งกว่าสูบบุหรี่ซะอีก > แชร์ได้ ไม่ต้องขอครับ > รักใคร ห่วงใคร ก็แชร์กันไป ถ้าคุณได้รับแชร์นี้มาแสดงว่ามีคนรักคุณ
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ล่าสุดมีงานวิจัยของฝรั่งเศสบอกว่า การสูบบุหรี่ ช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด 19 ได้ จริงหรือคะ
    งานวิจัยจากฝรั่งเศสที่ว่าการสูบบุหรี่ช่วยป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สูบบุหรี่ในมัสยิดผิดกฎหมายจริงหรือไม่
    มีการแชร์ว่าสูบบุหรี่ในมัสยิดผิดกฎหมาย
    อึม บัค คึม
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เมื่อติดแล้ว ประเด็นไม่ได้อยู่ที่หายหรือไม่หายน่ะครับ มันจะอยู่ที่ ตายหรืออยู่อย่างลำบากไปตลอดชีวิต ดังนั้นพยายามห้ามติดครับ โควิด-l9 เป็นแล้วโอกาสตายน้อยกว่าห้าเปอร์เซ็นต์ จริงครับ แต่หายแล้ว ปอดอาจพังตลอดชีวิต ลิเดีย-แข็งแรง เหลือปอดทำงาน หกสิบเปอร์เซ็นต์ ล่าสุด...31 ธันวาคม 2563 ผู้ว่าจังหวัดสมุทรสาคร น่าจะเป็นเคสนี้ครับ บทความนี้ถูกส่งต่อกันมา ผมพอทราบว่ามีส่วนจริง แต่ให้แน่ใจ จึงส่งไปถามเพื่อนที่เป็น...’หมอ’ ! เขาตอบว่า...จริง !!! โควิด-I9 เป็นแล้วตายก็จบไป แต่ถ้าไม่ตาย ก็ต้องลุ้น ! คุยกันครั้งใด เขาบอกผม... พี่อย่าให้เป็นนะ อายุเยอะแล้ว ตายก็ลำบากก่อนตาย ไม่ตายก็แย่ไปตลอดชีวิต "ผมกลัว" ที่จะติดเชื้อ Covid-l9 ผมจึงทำตามที่รัฐบาลบอก คือ "อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ" และจะออกจากบ้าน เมื่อจำเป็นจริงๆ ผมบอกว่า ผมเชื่อว่าใครที่ติดเชื้อ Covid-l9 จะไม่มีวันกลับไป "ปกติ" เพราะปอดจะไม่ทำงานเต็มร้อยอีกแล้ว แต่...แต่ก่อนที่จะเสียชีวิต หากคุณติดเชื้อ รู้ไหมว่า มันทรมานแค่ไหน คุณรู้ไหมว่า การรักษาโรคปอดติดเชื้อไวรัส โคโรนา 20l9 หรือ Covid-19 มันไม่ใช่แค่ ใส่หน้ากากออกซิเจน แล้วนอนอ่านหนังสือ หรือเล่นโทรศัพท์ อยู่บนเตียงสบายๆในโรงพยาบาล เพราะเครื่องช่วยหายใจสำหรับผู้ป่วย Covid-l9 (บางคน-ไม่ทุกคน) มันสร้างความเจ็บปวด ต้องสอดท่อลงไปในลำคอและคาไว้ จนกว่าจะหาย หรือตายภายใน 2-3 สัปดาห์ โดยแทบไม่สามารถขยับตัว การรักษานี้ คนไข้จะถูกจับให้นอนคว่ำกลับหัว มีท่อหายใจต่อจากปากขึ้นไปที่เครื่องช่วยหายใจ ไม่สามารถพูด กิน หรือขับถ่ายได้ตามปกติ แถมเจ็บปวดตลอดเวลา สิ่งที่แพทย์ช่วยได้ก็คือ ให้ยานอนหลับและยาแก้ปวด เพื่อให้แน่ใจว่าคนไข้สามารถทนต่อความเจ็บจากการใส่ท่อช่วยหายใจ เหมือนอยู่ในอาการโคม่าเทียม ผ่านไป 20 วัน ผู้ป่วยจะสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ สี่สิบเปอร์เซนต์ และมีแผลในปากหรือหลอดลม เช่นเดียวกับปอด เกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจ นี่คือสาเหตุหลักที่ทำให้คนแก่ หรือผู้ป่วยโรคอื่น เช่น ความดัน หัวใจ ไม่สามารถทนการรักษาได้ และอาจตายในที่สุด ย้ำ..นี่ไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ ! การให้อาหารเหลวใส่หลอดเข้าไปในท้องของคุณ ไม่ว่าจะผ่านจมูกหรือเส้นเลือด การที่ต้องมีพยาบาลมาช่วยขยับแขนขาทุกสองชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ และต้องนอนบนเตียงน้ำที่เย็น เพื่อช่วยลดอุณหภูมิ 40 องศาของคุณ "มันไม่ใช่เรื่องสนุก" และคนที่บ้านเป็นทุกข์แน่ๆ นี่คือหนึ่งในเหตุผลที่ชาติตะวันตก ปล่อยให้ตาย ไม่รับรักษา เพราะสิ้นเปลือง ผมกลัว...ผมจึงอยู่บ้าน ถ้าคุณไม่กลัว ก็ตามสบายนะครับ ไม่สวมหน้ากากตอนออกจากบ้าน ไม่รักษาระยะห่าง ไปในที่สุ่มเสี่ยง เป็นเรื่องความรับผิดชอบที่คุณมีต่อครอบครัวของคุณเอง ที่เล่ามาทั้งหมด ก็เพื่อคนที่คุณรัก เพื่อคนที่รักคุณ และ เพื่อตัวคุณเอง ใครจะหาว่าผมตื่นตูม ก็ตามสะดวก แต่ผมว่าเราต้อง ‘ตื่นตัว’ แม้คนที่เป็น ไม่ทุกคนที่จะมีสภาพนี้ แต่ก็มีไม่น้อยที่หายแล้วปอดไม่เต็มร้อย ผมว่าปอดพังเร็วมาก ยิ่งกว่าสูบบุหรี่ซะอีก รักใคร ห่วงใคร ก็แชร์กันไป ถ้าคุณได้รับแชร์นี้มาแสดงว่ามีคนรักคุณ
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ควันบุหรี่แพร่กระจายเชื้อโควิด 19 ได้จริงหรือ
    มีการแชร์ส่งผ่านทางโลกออนไลน์ว่า การสูบบุหรี่ทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโควิด 19
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ คนไม่สูบบุหรี่ ก็เสี่ยงเป็นมะเร็งปอด ได้
    มีรายงานการศึกษาพบว่าผู้ป่วยมะเร็งปอดในทวีปเอเชียนั้น 30 – 40 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่มาก่อน โดยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของเพศหญิงนั้นไม่เคยสูบบุหรี่ ซึ่งจะแตกต่างจากประเทศในฝั่งทวีปยุโรป ซึ่งมีเพียงแค่ 10-20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่ไม่เคยสูบบหรี่ แต่กลับป่วยเป็นมะเร็งปอด
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือไม่ ? บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายน้อยกว่าบุหรี่มวน
    ในปัจจุบัน จากผลสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของเยาวชนไทย จำนวน 40,164 คน ทั่วประเทศ ระหว่างวันที่ 1 - 27 พฤษภาคม 2567 พบว่า เยาวชนยังมีความเชื่อว่า บุหรี่ไฟฟ้าอันตรายน้อยกว่าบุหรี่มวนถึง 50.2% และยังมีความเชื่อว่า นิโคตินเป็นสารที่ทำให้ร่างกายตื่นตัวส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อที่ผิดและยังขาดความรู้ ความตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ระบบทางเดินหายใจ สมอง และ หัวใจ ( แหล่งข้อมูล https://hed.go.th/ ) จากการสัมภาษณ์ เภสัชกร ณภัทร นวลสกุลกฤป เภสัชกร ประจำร้านเภสัชกรอิ่ม จังหวัดมหาสารคาม ได้ให้ข้อมูลว่า อันตรายจากบุหรี่ไฟฟ้า และ บุหรี่มวน มีความอันตรายไม่ต่างกัน ในหลาย ๆ แง่มุม บุหรี่ไฟฟ้าก็มีความอันตรายมากกว่า และเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีภาวะโรคใหม่ที่เกิดขึ้นคือ ภาวะโรคปอดอักเสบจากการใช้บุหรี่ไฟฟ้า และจากการทดสอบเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า และ ไม่สูบบุหรี่ไฟฟ้า พบว่าในผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้า มีสาร Vitamin E Acetate อยู่ในปอดจำนวนมาก แต่ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ไฟฟ้าไม่มีสารชนิดนี้เลย ทำให้ตั้งข้อสังเกตได้ว่าสารชนิดนี้มีส่วนที่สร้างความเสียหายแก่ปอด และถูกยืนยันจากบทความของ การวิจัยทางเคมีในพิษวิทยา จาก ACS Publications เว็บไซต์ฐานข้อมูลบทความ และ งานวิจัยต่าง ๆ ทางด้านเคมีและสาขาที่เกี่ยวข้อง ( แหล่งข้อมูล https://pubs.acs.org/doi/10.1021/acs.chemrestox.1c00309 ) เภสัชกร ณภัทร นวลสกุลกฤป ยังกล่าวอีกว่า นิโคตินไม่ใช่สารก่อมะเร็ง แต่ว่าเป็นสารที่ช่วยกระตุ้นให้เซลล์มะเร็งเติบโตได้ดีมากขึ้น สารนิโคตินจึงเป็นสารที่สร้างความเสียหาย และ เพิ่มความเสี่ยงต่อระบบต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อโรคหัวใจ เสี่ยงต่อโรคที่เกี่ยวกับสมอง เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และ เสี่ยงต่อโรคไขมันต่าง ๆ ที่เป็นโรคเรื้อรัง ดังนั้น บุหรี่ไฟฟ้า ไม่ได้อันตรายน้อยกว่า บุหรี่มวน ผู้เชี่ยวชาญเลยแนะนำไม่ให้สูบทั้งบุหรี่ไฟฟ้า และ บุหรี่มวน
    64011215088
     •  20 วันที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มชาหญ้าดอกขาว หรือเคี้ยวมะนาว ช่วยลดความอยากบุหรี่ จริงหรือคะ
    กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แนะนำให้ใช้ชาชงหญ้าดอกขาว เป็นสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ มีชื่อเรียกแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น เช่น หญ้าหมอน้อย หญ้าละออง หรือถั่วแฮะดิน หญ้าดอกขาวมีสารต้านอนุมูลอิสระค่อนข้างสูง อีกทั้งมีสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ เทอร์พีน สเตอรอล และสารกลุ่มไกลโคไซด์ ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้ลิ้นฝาดหรือชา ช่วยลดความอยากสูบบุหรี่ จริงหรือคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การสูบบุหรี่ไฟฟ้าช่วยให้เลิกบุหรี่มวลได้หรือไม่
    รู้หรือไม่ บุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้ช่วยให้เลิกบุหรี่มวน หลายคนเข้าใจผิดว่าบุหรี่ไฟฟ้าเป็นทางเลือกที่ดีในการเลิกบุหรี่มวน แต่จากงานวิจัยและข้อมูลทางการแพทย์ พบว่า บุหรี่ไฟฟ้าไม่ได้ช่วยให้เลิกบุหรี่มวนได้จริง และยังมีผลเสียต่อสุขภาพอีกมากมาย ข้อมูลจาก https://www.hfocus.org/content/2023/09/28520 จากการสัมภาษณ์ เภสัชกรหญิง อริสา คำรินทร์ เภสัชกรหญิง ร้านยาในจังหวัดมหาสารคาม ให้ข้อมูลว่า การสูบบุรี่ไฟฟ้าไม่ช่วยให้เลิกเลิกบุหรี่มวล แต่เป็นการทำให้เสพติดสารนิโคตินที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งนำไปสู่ โรคหัวใจ ถุงลมโป่งพอง และโรคในระบบทางเดินหายใจ พร้อมกับให้คำแนะนำว่าบุหรี่ไฟฟ้าไม่ใช่ทางออกในการเลิกบุหรี่มวน 1.ไม่ช่วยเลิกบุหรี่: ผู้สูบบุหรี่ไฟฟ้าเพื่อเลิกบุหรี่มวนส่วนใหญ่จะติดบุหรี่ไฟฟ้าแทน หรือสูบทั้งสองชนิดควบคู่กันไป 2.อันตรายต่อสุขภาพ: บุหรี่ไฟฟ้ามีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อปอด หัวใจ และระบบอื่นๆ ในร่างกาย ผลกระทบอื่นๆ: 1.ไม่ปลอดภัย: แม้จะไม่มีควันบุหรี่ แต่บุหรี่ไฟฟ้าก็ปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตรายออกมา 2.เสพติด: นิโคตินในบุหรี่ไฟฟ้าทำให้เกิดการเสพติดได้เช่นเดียวกับบุหรี่มวน 3.ยังไม่มีข้อสรุปเรื่องความปลอดภัย: งานวิจัยเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ายังไม่ครอบคลุมเพียงพอที่จะยืนยันความปลอดภัยได้ “เลิกบุหรี่มวนดีกว่า แต่บุหรี่ไฟฟ้าไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาทางเลิกบุหรี่ที่ปลอดภัยและได้ผล” เลิกบุหรี่ โทร 1600 หรือปรึกษาที่ร้านยามหาวิทยาลัยมหาสารคาม และร้านยาที่มีเภสัชกรใกล้บ้าน
    Wisit Kongkam
     •  3 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โรคเนื้อเน่าหรือแบคทีเรียกินเนื้อคน ระบาดในฤดูฝน อันตรายถึงชีวิตจริงหรือ
    สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ ชี้โรคเนื้อเน่า (Necrotizing fasciitis) หรือแบคทีเรียกินเนื้อคน เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง พบได้ในคนทุกเพศทุกวัย ส่วนใหญ่จะระบาดในฤดูฝน ช่วงเกษตรลงดำนาลุยโคลน การติดเชื้อมักมีอาการรวดเร็ว และรุนแรง ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและถูกต้อง อาจนำมาซึ่งการสูญเสียอวัยวะและอาจรุนแรงถึงขั้นทำให้เสียชีวิตได้ โรคเนื้อเน่าพบได้ในคนทุกเพศทุกวัย แต่คนที่มีโรคประจำตัวบางชนิดพบมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคมากกว่าคนอื่นๆ ซึ่งโรคดังกล่าวได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ตับแข็ง โรคมะเร็ง ไตวาย รวมถึง คนที่มีภาวะกดภูมิจากการใช้สารสเตียรอยด์ คนที่ใช้สารเสพติดฉีดเข้าเส้น คนที่มีปัญหาของหลอดเลือดบริเวณขา คนอ้วน สูบบุหรี่ และ คนที่ติดแอลกอฮอล์ เป็นต้น การระบาดของโรคเนื้อเน่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีประวัติไปดำนา ลุยโคลน และโดนหอย หรือเศษแก้วบาด เศษไม้ตำเท้า และไม่ได้ทำแผล หรือรักษาใดๆ เนื่องจากต้องทำนาให้เสร็จ ทำให้เชื้อโรคเข้าไปในบาดแผล และเพิ่มจำนวนจนเกิดอาการรุนแรงได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false