1 คนสงสัย
โรคซึมเศร้า สามารถรักษาให้หายขาดได้
โรคซึมเศร้า สามารถรักษาให้หายขาดได้
Mrs.Doubt
 •  2 ปีที่แล้ว
meter: true
1 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)
Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

โรคซึมเศร้า สามารถรักษาให้หายได้ด้วยวิธีการรักษาทางจิตใจ และการรักษาด้วยยาหลายชนิด โดยที่แต่ละคนอาจตอบสนอง ต่อการรักษาแต่ละชนิดไม่เท่ากัน บา

ที่มา

https://www.rama.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-0924

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    บุกทลายเครื่องสำอางเถื่อน ผงะครีมปลอม กวนเอง ส่งขายต่างจังหวัด นาน 4 ปี
    ปคบ.ร่วม อย.บุกทลายโรงงานผลิตครีมเถื่อน ย่านพระราม 2 ยึดของกลางครีมสมุนไพร และครีมบำรุงผิว กวนเองหลายยี่ห้อ พบผสมสารอันตราย ทำมา 4 ปี ส่งขายให้กับยี่ปั๊ว เน้นพื้นที่ต่างจังหวัดทั่วประเทศ บุกทลายเครื่องสำอางเถื่อน ผงะครีมปลอม กวนเอง ส่งขายต่างจังหวัด นาน 4 ปี เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564 พล.ต.ต.ณัฐศักดิ์ เชาวนาศัย ผบก.ปคบ. พ.ต.อ.สำเริง อำพรรทอง พ.ต.อ.ศารุติ แขวงโสภา พ.ต.อ.ศรีศักดิ์ คัมภีรญาณ พ.ต.อ.ชนันนัทธ์ สารถวัลย์แพศย์ รอง ผบก.ปคบ. พ.ต.อ.เนติ วงษ์กุหลาบ ผกก.4 บก.ปคบ. พร้อม นพ.ไพศาล ดั่นคุ้ม เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ภญ.สุภัทรา บุญเสริม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นำหมายค้นเข้าค้นบ้านเลขที่ 2708 พระราม 2 ซอย 47 แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ หลังรับแจ้งว่าเป็นแหล่งผลิตเครื่องสำอางเถื่อน และจำหน่ายเครื่องสำอางโดยไม่ได้รับอนุญาต ที่เกิดเหตุเป็นบ้านปูน 2 ชั้น ชั้นล่าง 1 ห้อง ชั้นบน 2 ห้อง ถูกแบ่งเป็นห้องกวนครีม พบสารสเตียรอยด์ ยาแก้อักเสบ ครีมเบส สีไม่ทราบชนิด หัวน้ำหอม และเครื่องกวนครีมพร้อมนำมาผสม ส่วนอีกห้องเป็นห้องสำหรับบรรจุครีม มีกระปุกครีมจำนวนมาก มีพนักงานกำลังกวนครีม 4 คน และเจ้าของบ้าน ทราบชื่อ น.ส.พาณี ปิตโต อายุ 52 ปี เบื้องต้นเจ้าหน้าที่ตรวจยึดของกลางทั้งหมดที่เป็นครีมสมุนไพร และครีมบำรุงผิวหลายยี่ห้อ ที่ไม่ได้ขออนุญาตในการผลิตจาก อย. จัดเป็นเครื่องสำอางปลอม หนึ่งในนั้นคือครีมตลับสีขาวฝาน้ำเงิน ที่ อย. เคยตรวจพบสารไฮโดรควิโนน และกรดเรทิโนอิก และสั่งห้ามขายไปแล้วด้วย จากการสอบสวน น.ส.พาณี ให้การว่า เคยทำงานเป็นเซลล์ขายเครื่องสำอาง เห็นว่าครีมลักษณะดังกล่าวขายดีติดตลาด จึงออกมาผสมครีมขายเอง และเช่าบ้านหลังดังกล่าว เพื่อใช้สำหรับกวนครีมเองมานาน 4 ปีแล้ว โดยซื้อครีมเบส มาผสมกับสี และหัวน้ำหอม เพื่อแต่งกลิ่น สี และผสมสารอันตราย เช่น สารปรอท หรือไฮโดรควิโนน กรดวิตามินเอเข้าไป แต่ช่วงหลังสาร 2 ตัวนี้หายาก จึงปรับสูตรไปใส่สารสเตียรอยด์ ก่อนจะนำไปติดฉลากยี่ห้อหรือสวมยี่ห้อที่เคยโด่งดังในตลาด ส่งขายให้กับยี่ปั๊ว 4 เจ้า โดยเน้นขายในพื้นที่ต่างจังหวัดทั่วประเทศ เบื้องต้นแจ้งข้อหา ผลิตเครื่องสำอางที่สงสัยว่ามีวัตถุที่ห้ามใช้เป็นส่วนผสม ผลิตเครื่องสำอางไม่จดแจ้ง ผลิตเครื่องสำอางที่ใช้ฉลากไม่ถูกต้อง และจะขยายผลตรวจสอบเส้นทางการเงิน จับกุมยี่ปั๊ว ซาปั๊ว ที่รับครีมเหล่านี้ไปขายต่อด้วย ด้าน ภญ.สุภัทรา บุญเสริม รองเลขาธิการ อย. กล่าวว่า ครีมของกลางที่พบนี้ ล้วนแล้วแต่มีลักษณะที่เข้าข่าย มีส่วนผสมของสารสเตียรอยด์ ปรอท สารไฮโดรควิโนน กรดเรติโนอิก ที่ อย. สั่งห้ามใช้ และแจ้งเตือนประชาชนหลายครั้ง เคยจับมาแล้วเมื่อปี 52 และประกาศห้ามใช้ เพราะมีสารอันตรายต่อร่างกาย แม้จะเห็นผลเร็ว แต่เมื่อใช้ไประยะหนึ่ง จากผิวที่ดูขาวจะกลายเป็นดำคล้ำ มีภาวะผิวบาง เกิดฝ้าถาวร หากเป็นสิวก็เสี่ยงติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งหากเป็นรอยแผลถาวร ก็จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ จึงขอเตือนประชาชนอย่าซื้อครีมลักษณะนี้มาใช้ แต่ให้ซื้อครีมยี่ห้อที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการจดแจ้งถูกต้องจากทาง อย.
    std47982
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สมุนไพรสมอไทยใช้รักษาโรคมะเร็งให้หายขาดได้ จริงหรือ
    สมอไทย เป็นสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ทำเป็นยาได้หลายส่วนทั้ง ดอก ผล แก่น และเปลือกต้น สารประกอบหลักที่พบในผลสมอไทย เช่น แทนนิน สารกลุ่มพอลีฟีโนลิก (กรดแกลลิค กรดแอลลาจิก และคอริลาจิน) วิตามินเอ และซี สารเหล่านี้มีฤทธิ์ในต้านอนุมูลอิสระ สามารถนำมาใช้รักษาโรคมะเร็งได้
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กัญชาช่วยให้หลับสบายจริงหรือ
    โรคนอนไม่หลับ หรืออาการหลับยาก ถือว่าเป็นอาการที่พบได้ทั่วไปในกลุ่มคนทุกช่วงวัย โดยส่วนมากมักจะมีต้นเหตุมาจากความเครียดและความวิตกกังวล และสาเหตุอื่นๆที่พบได้น้อยกว่าเช่น โรคซึมเศร้า อาการเจ็บปวด หรือผลข้างเคียงจากยาบางชนิด และบางครั้งอาการนอนไม่หลับก็ไม่ได้มีแค่หนึ่งต้นเหตุ ทำให้ผู้ป่วยบางคนไม่สามารถรักษาอาการนอนไม่หลับให้หายขาดได้ กัญชาทางการแพทย์จึงเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกและความหวังใหม่ที่ช่วยให้นอนหลับง่ายและสบายขึ้น กัญชาทางการแพทย์/ยาระงับประสาท การที่กัญชาทางการแพทย์สามารถช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับดีขึ้นได้ก็เพราะว่ากัญชานั้นออกฤทธิ์ได้เหมือนยาระงับประสาทครับ โดยผู้ป่วยที่ได้ลองใช้กัญชาจะรู้สึกถึงความผ่อนคลายไปจนถึงง่วงนอนได้เลย อีกทั้งยังมีการพัฒนากัญชาทางการแพทย์บางสายพันธ์สำหรับรักษาโรคนอนไม่หลับโดยเฉพาะ ซึ่งเอฟเฟคท์การทำให้นอนหลับดีขึ้นจะมาจากสารแคนนาบินอยที่พบได้ในกัญชาคือ THC นั่นเอง กัญชาช่วยให้นอนหลับได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม การใช้ปริมาณที่พอดีและไม่เยอะเกินไปนั้นมีประโยชน์หลายอย่างรวมถึงการช่วยเรื่องโรคนอนไม่หลับ แต่ถ้าใช้มากเกินไป ประโยชน์ที่เคยมีก็จะสูญเปล่า และอาจจะถูกแทนที่ด้วยอาการทางจิตอย่างเช่นอาการวิตกกังวลแทนได้ ดังนั้นควรจะใช้รักษาภายใต้การดูแลของแพทย์จะดีที่สุดครับ การใช้กัญชาเพื่อช่วยในการนอนหลับนั้นช่วยลดวงจร REM Sleep (วงจรที่เวลาหลับแล้วจังหวะชีพจรและการหายใจจะเร็วขึ้น เป็นช่วงที่ทำให้เกิดการฝัน และสมองใช้งานหนักพอๆกับตอนตื่น) และช่วยให้หลับลึก แต่ถ้าใช้ไปนานๆเข้า อาการหลับลึกก็อาจจะน้อยลง รวมถึงสารTHCก็จะทำให้หลับเร็วขึ้นได้ด้วยครับ ใช้กัญชารักษาปลอดภัยแค่ไหน ในตอนนี้งานวิจัยเกี่ยวกับกัญชารักษาโรค รวมไปถึงโรคนอนไม่หลับ อาจจะยังใหม่อยู่และมีไม่มากนัก ดังนั้นจะพูดว่ากัญชาเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดของการรักษาโรคนอนไม่หลับนั้นก็อาจจะยังไม่ได้ในตอนนี้ และเราเองก็ไม่อาจแก้ปัญหานอนไม่หลับด้วยปลายเหตุโดยใช้กัญชาเป็นตัวเลือกแรก แต่ก็อาจจะเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าการใช้ยานอนหลับเพราะกัญชาทางการแพทย์อาจจะทำให้หลับนานกว่าและหลับสนิทกว่าการใช้ยานอนกลับ ที่มีผลข้างเคียงมากกว่าการใช้กัญชา ตามที่บอกไปข้างต้นนะครับ อาการนอนไม่หลับ นั้นมีหลายสาเหตุ และไม่ควรใช้กัญชาเป็นการรักษาอย่างแรกถ้าไม่เคยรับการรักษาอย่างอื่น ซึ่งบางครั้งอาจจะมีวิธีแก้ปัญหาอื่นๆเช่นการออกกำลังกาย การทำสมาธิ หรือการใช้สมุนไพรบำบัดที่ทำให้หลับง่ายขึ้นและไม่มีผลข้างเคียง แต่ถ้าลองมาหลายวิธีแล้วไม่หายขาด ก็อาจจะปรึกษาแพทย์และใช้กัญชาบำบัดควบคู่ไปได้เช่นกันครับ โรคนอนไม่หลับจะรักษาง่ายกว่าถ้าลองใช้วิธีรักษาหลายๆทาง และการจัดการกับความเครียด กัญชาบำบัดก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกได้ครับ
    maxchowxingxing
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โรคซึมเศร้า
    สาเหตุที่คนเป็นโรคซึมเศร้าโดนบูลลี่มากขึ้น
    62140460
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กัญชารักษาโรคซึมเศร้าได้จริงไหม?
    ในปัจจุบัน กัญชาถูกพูดถึงมากขึ้นในแง่ของสรรพคุณทางยา และหนึ่งในโรคที่หลายคนสงสัยว่ากัญชาจะช่วยรักษาได้คือ โรคซึมเศร้า แต่ความจริงแล้ว กัญชาช่วยรักษาโรคซึมเศร้าได้จริงหรือไม่? ต้องเข้าใจให้ถูกต้องว่า กัญชาไม่ได้เป็นยาที่รักษาโรคซึมเศร้าได้โดยตรง แต่สาร CBD ที่อยู่ในกัญชา มีศักยภาพในการช่วยบรรเทาอาการบางอย่าง เช่น ความวิตกกังวล การนอนไม่หลับ และอาการปวดเรื้อรัง ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า (ข้อมูลจากเว็บไซต์ https://www.rama.mahidol.ac.th ) กัญชามีกลไกเข้าไปลดการกระตุ้นในสมอง ทำให้อาการดีขึ้นร่วมกับการนอนหลับ ส่วนการใช้กับโรคซึมเศร้า ยังไม่มีผลการวิจัยที่ชัดเจน ในทางกลับกันพบว่าอาจจะส่งผลเสียต่อการดำเนินโรค ตัวอย่างเช่น กลุ่มโรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ปัญหานอนไม่หลับ ส่วนในด้านกลไกการทำงาน สันนิษฐานว่าสารในกัญชาอาจช่วยรักษาโรคซึมเศร้าได้โดยการปรับระดับสารสื่อประสาทในสมอง เช่น เซโรโทนินและโดปามีน ซึ่งเกี่ยวข้องกับอารมณ์และความสุขนั่นเอง (ข้อมูลจากเว็บไซต์ https://suicide.dmh.go.th/abstract/details.asp?id=3607 ) ดังนั้น แม้ว่าจะมีหลักฐานบางส่วนบ่งชี้ว่ากัญชามีสารช่วยบรรเทาอาการของโรคซึมเศร้าได้ แต่การใช้กัญชาในการรักษาโรคซึมเศร้ายังคงเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาและวิจัยเพิ่มเติม การตัดสินใจใช้กัญชาในการรักษาควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนเสมอแพทย์จะประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย และแนะนำวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด
    Pongsapak Laonet
     •  3 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โรคภูมิแพ้ผิวหนัง เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง และเป็นโรคทางพันธุกรรม ไม่สามารถรักษาให้หายขาด จริงหรือ
    สถาบันโรคผิวหนัง ชี้โรคภูมิแพ้ผิวหนังเป็นโรคเรื้อรัง ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ยังไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด ผู้ป่วยมักมีประวัติภายในครอบครัวเป็นภูมิแพ้แบบต่างๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ ได้มากกว่าปกติ
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เข้าวัด ฟังธรรม นั่งสมาธิ รักษาโรคซึมเศร้าได้จริงหรือไม่
    ภาวะซึมเศร้าเป็นสภาวะทางอารมณ์ที่ซับซ้อนและมีระดับความรุนแรงที่แตกต่างกันไป การเข้าใจความแตกต่างระหว่างภาวะซึมเศร้ากับความเครียดทั่วไปจึงเป็นสิ่งสำคัญ ภาวะเครียดที่เกิดจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน เช่น การอกหัก อาจทำให้เกิดความรู้สึกเศร้าและเบื่อหน่ายได้ชั่วคราว แต่โดยทั่วไปแล้วอาการเหล่านี้จะค่อยๆ ทุเลาลงเมื่อเวลาผ่านไป และสามารถจัดการได้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การทำกิจกรรมที่ตนเองชอบ การพูดคุยกับผู้อื่น หรือการฝึกสติ อย่างไรก็ตาม ภาวะซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่มีเกณฑ์การวินิจฉัยที่ชัดเจน โดยผู้ป่วยจะต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการจาก 9 อาการหลัก เช่น อารมณ์เศร้า เบื่อหน่าย การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินและการนอนหลับ ความรู้สึกผิดหวังกับตนเอง และความคิดอยากทำร้ายตนเอง เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ภาวะซึมเศร้าสามารถแบ่งและการประเมินระดับความรุนแรงของอาการ การประเมินอาการซึมเศร้าจะช่วยให้ทราบว่าอาการของแต่ละบุคคลรุนแรงมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะส่งผลต่อการเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสม โดยทั่วไปแล้ว อาการซึมเศร้าจะถูกแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับน้อย: ผู้ป่วยจะมีอาการบางส่วนที่ตรงตามเกณฑ์การวินิจฉัย แต่ยังสามารถทำงานและดำเนินชีวิตประจำวันได้ ระดับปานกลาง: ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากขึ้น ทำให้การทำงานและการเข้าสังคมเป็นไปด้วยความยากลำบาก ระดับรุนแรง: ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากที่สุด อาจมีอาการหลงผิด ประสาทหลอน และมีความคิดทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น การรักษาเศร้าเล็กน้อย ปานกลาง และรุนแรง ซึ่งแต่ละระดับจะมีความรุนแรงของอาการและผลกระทบต่อชีวิตประจำวันแตกต่างกันไป สำหรับผู้ที่มีอาการซึมเศร้าระดับเบาถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการฝึกสติอาจช่วยบรรเทาอาการได้ เช่น การออกกำลังกายเป็นประจำ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนให้เพียงพอ และการฝึกการรับรู้ถึงความรู้สึกในปัจจุบัน ในพาร์ทของ การให้คำปรึกษาและการทำจิตบำบัดนั้น มีหลากหลายแนวทางที่แตกต่างกันออกไป หนึ่งในแนวทางที่น่าสนใจคือ การให้คำปรึกษาที่อิงหลักการใช้สติ (Mindfulness-based therapy) ซึ่งเป็นการนำหลักการของการฝึกสติและสมาธิมาประยุกต์ใช้ในการช่วยเหลือคนไข้ อย่างไรก็ตาม การให้คำปรึกษาที่เน้นใช้สติบำบัดนี้เป็นเพียงหนึ่งในทางเลือกที่หลากหลายเท่านั้น อย่างไรก็ตาม หากอาการซึมเศร้ามีความรุนแรงมากขึ้น การใช้ยาภายใต้การดูแลของแพทย์และการเข้ารับการบำบัดทางจิตวิทยาเป็นสิ่งจำเป็น โดยการรักษาภาวะซึมเศร้าขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอาการและปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง วิธีการรักษาที่พบบ่อย ได้แก่ การใช้ยา: ยาต้านเศร้าช่วยปรับสมดุลสารเคมีในสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคซึมเศร้า การทำจิตบำบัด: ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจและจัดการกับความคิดและอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม: เช่น การออกกำลังกาย การทำกิจกรรมที่ตนเองสนใจ การปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต การให้คำปรึกษา: การพูดคุยกับนักจิตวิทยาหรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเพื่อรับฟังปัญหาและหาแนวทางแก้ไข สำหรับผู้ที่กำลังประสบปัญหาภาวะซึมเศร้า ขั้นตอนแรกที่สำคัญคือการประเมินระดับความรุนแรงของอาการ เพื่อให้สามารถวางแผนการรักษาที่เหมาะสมได้ ปัจจุบันมีเครื่องมือประเมินอาการซึมเศร้าออนไลน์มากมายที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ผู้ที่สงสัยว่าตนเองอาจมีอาการซึมเศร้าสามารถทำแบบประเมินเหล่านี้เบื้องต้นได้ และหากผลออกมามีปัญหาสามารถติดต่อเครือข่ายสำหรับนักศึกษา มมส สามารถติดต่อขอรับคำปรึกษาได้ที่เครือข่ายสุขภาพจิตมมสเบอร์ 0850104544 หรือสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ซึ่งมีบริการตลอด 24 ชั่วโมงโดยนักจิตวิทยา แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรจะพบจิตแพทย์ ที่คลีนิคสุขภาพจิต โรงพยาบาลสุทธาเวช ภาวะซึมเศร้าเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถกลับมามีชีวิตที่ปกติสุขได้อีกครั้ง การสังเกตอาการของตนเองและการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเมื่อมีอาการที่น่าสงสัย เป็นสิ่งสำคัญในการรักษาโรคซึมเศร้า
    65011215023
     •  2 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    น้ำมันกัญชาช่วยให้หลับสบาย
    โรคนอนไม่หลับ หรืออาการหลับยาก ถือว่าเป็นอาการที่พบได้ทั่วไปในกลุ่มคนทุกช่วงวัย โดยส่วนมากมักจะมีต้นเหตุมาจากความเครียดและความวิตกกังวล และสาเหตุอื่นๆที่พบได้น้อยกว่าเช่น โรคซึมเศร้า อาการเจ็บปวด หรือผลข้างเคียงจากยาบางชนิด และบางครั้งอาการนอนไม่หลับก็ไม่ได้มีแค่หนึ่งต้นเหตุ ทำให้ผู้ป่วยบางคนไม่สามารถรักษาอาการนอนไม่หลับให้หายขาดได้ กัญชาทางการแพทย์จึงเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกและความหวังใหม่ที่ช่วยให้นอนหลับง่ายและสบายขึ้น กัญชาทางการแพทย์/ยาระงับประสาท การที่กัญชาทางการแพทย์สามารถช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับดีขึ้นได้ก็เพราะว่ากัญชานั้นออกฤทธิ์ได้เหมือนยาระงับประสาทครับ โดยผู้ป่วยที่ได้ลองใช้กัญชาจะรู้สึกถึงความผ่อนคลายไปจนถึงง่วงนอนได้เลย อีกทั้งยังมีการพัฒนากัญชาทางการแพทย์บางสายพันธ์สำหรับรักษาโรคนอนไม่หลับโดยเฉพาะ ซึ่งเอฟเฟคท์การทำให้นอนหลับดีขึ้นจะมาจากสารแคนนาบินอยที่พบได้ในกัญชาคือ THC นั่นเอง กัญชาช่วยให้นอนหลับได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม การใช้ปริมาณที่พอดีและไม่เยอะเกินไปนั้นมีประโยชน์หลายอย่างรวมถึงการช่วยเรื่องโรคนอนไม่หลับ แต่ถ้าใช้มากเกินไป ประโยชน์ที่เคยมีก็จะสูญเปล่า และอาจจะถูกแทนที่ด้วยอาการทางจิตอย่างเช่นอาการวิตกกังวลแทนได้ ดังนั้นควรจะใช้รักษาภายใต้การดูแลของแพทย์จะดีที่สุดครับ การใช้กัญชาเพื่อช่วยในการนอนหลับนั้นช่วยลดวงจร REM Sleep (วงจรที่เวลาหลับแล้วจังหวะชีพจรและการหายใจจะเร็วขึ้น เป็นช่วงที่ทำให้เกิดการฝัน และสมองใช้งานหนักพอๆกับตอนตื่น) และช่วยให้หลับลึก แต่ถ้าใช้ไปนานๆเข้า อาการหลับลึกก็อาจจะน้อยลง รวมถึงสารTHCก็จะทำให้หลับเร็วขึ้นได้ด้วยครับ ใช้กัญชารักษาปลอดภัยแค่ไหน ในตอนนี้งานวิจัยเกี่ยวกับกัญชารักษาโรค รวมไปถึงโรคนอนไม่หลับ อาจจะยังใหม่อยู่และมีไม่มากนัก ดังนั้นจะพูดว่ากัญชาเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดของการรักษาโรคนอนไม่หลับนั้นก็อาจจะยังไม่ได้ในตอนนี้ และเราเองก็ไม่อาจแก้ปัญหานอนไม่หลับด้วยปลายเหตุโดยใช้กัญชาเป็นตัวเลือกแรก แต่ก็อาจจะเป็นตัวเลือกที่ดีกว่าการใช้ยานอนหลับเพราะกัญชาทางการแพทย์อาจจะทำให้หลับนานกว่าและหลับสนิทกว่าการใช้ยานอนกลับ ที่มีผลข้างเคียงมากกว่าการใช้กัญชา ตามที่บอกไปข้างต้นนะครับ อาการนอนไม่หลับ นั้นมีหลายสาเหตุ และไม่ควรใช้กัญชาเป็นการรักษาอย่างแรกถ้าไม่เคยรับการรักษาอย่างอื่น ซึ่งบางครั้งอาจจะมีวิธีแก้ปัญหาอื่นๆเช่นการออกกำลังกาย การทำสมาธิ หรือการใช้สมุนไพรบำบัดที่ทำให้หลับง่ายขึ้นและไม่มีผลข้างเคียง แต่ถ้าลองมาหลายวิธีแล้วไม่หายขาด ก็อาจจะปรึกษาแพทย์และใช้กัญชาบำบัดควบคู่ไปได้เช่นกันครับ โรคนอนไม่หลับจะรักษาง่ายกว่าถ้าลองใช้วิธีรักษาหลายๆทาง และการจัดการกับความเครียด กัญชาบำบัดก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกได้ครับ ที่มา : น้ํามันกัญชาสกัด.com
    maxchowxingxing
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เป็นซึมเศร้าแล้วไปเข้าวัด ไปทำบุญหายจริงมั้ย
    มีคนตั้งคําถามและเป็นข้อถกเถียงกันว่าการเข้าวัดปฏิบัติธรรม สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้จริงแต่บางฝ่ายก็บอกว่าไม่สามารถรักษาได้ จึงเกิดข้อสงสัยว่าอันไหนจริง
    CC cya
     •  2 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    มะเร็งไทรอยด์ ถ้าตรวจพบเร็ว รักษาให้หายขาดได้ จริงหรือ
    ประเทศไทยพบผู้ป่วยมะเร็งต่อมไทรอยด์รายใหม่ประมาณ 2800 ราย โดยส่วนใหญ่จะพบมะเร็งต่อมไทรอยด์ในเพศหญิงมากกว่าเพศชายมะเร็งไทรอยด์เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ในต่อมไทรอยด์ และพัฒนาเป็นก้อนมะเร็งขึ้น และอาจจะขยายโตขึ้นเรื่อย ๆ สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ สำหรับการป้องกันโรคแม้จะยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดแต่เราสามารถป้องกันโรคได้ จากการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง เลือกรับประทานอาหารที่มีไอโอดีนสูง และตรวจร่างกายเป็นประจำทุกปี หากตรวจพบโรคในระยะเริ่มแรกจะทำให้การรักษาได้ผลดีและมีโอกาสหายจากโรคสูง จริงหรือคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false