เมื่อเชื้อไวรัสโควิด-19 เริ่มต้นระบาดขึ้นในประเทศไทย มีผู้คนในแวดวงวิชาการจำนวนมากให้ความกังวลว่าเชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปในอากาศได้ แม้กระทั่งในต่างประเทศก็ยังมีงานวิจัยความเสี่ยงในการระบาดบนเครื่องบินซึ่งถือว่าอยู่ในสภาพอากาศที่ปิด
ขณะนั้นจึงมีคำศัพท์ 2 คำที่พบได้บ่อย คือ Airborne (แพร่กระจายผ่านอากาศ) กับ Droplet (แพร่ผ่านละอองฝอย)
มีผู้ส่งข้อความมายัง cofact.org ตรวจสอบ หลังมีการแชร์ข้อมูลผ่านโซเชียลมีเดียว่าเชื้อไวรัสโควิด-19 แพร่กระจายผ่านอากาศ (Airborne) เป็นความจริงหรือไม่
จากกรณีสื่อต่างประเทศรายงานข่าวว่า มีนักวิทยาศาสตร์ 239 คน จาก 32 ประเทศ เปิดเผยหลักฐานการแพร่กระจายของไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19 ) ผ่านละอองฝอยขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน สามารถแพร่ผ่านทางอากาศ (AirBorne) จึงเรียกร้องให้องค์การอนามัยโลก (WHO) ยอมรับว่าโควิด-19 มีการติดต่อในรูปแบบแอร์บอร์น และปรับคำแนะนำนั้น
เมื่อวันที่ 7 ก.ค. 2563 เว็บไซต์ hfocus.org เผยแพร่ข้อมูลจาก นพ.ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค (คร.) กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ระบุว่า ข้อมูลจนถึงขณะนี้โรคโควิด -19 ส่วนใหญ่ยังเป็นการแพร่ผ่านละอองฝอยขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน (Droplet) จากการไอ จาม และในระยะ 1 เมตร ส่วนการแพร่กระจายทางอากาศหรือ แอร์บอร์นนั้น เกิดขึ้นในโรงพยาบาล
ขณะนั้นจึงมีคำศัพท์ 2 คำที่พบได้บ่อย คือ Airborne (แพร่กระจายผ่านอากาศ) กับ Droplet (แพร่ผ่านละอองฝอย)
มีผู้ส่งข้อความมายัง cofact.org ตรวจสอบ หลังมีการแชร์ข้อมูลผ่านโซเชียลมีเดียว่าเชื้อไวรัสโควิด-19 แพร่กระจายผ่านอากาศ (Airborne) เป็นความจริงหรือไม่
จากกรณีสื่อต่างประเทศรายงานข่าวว่า มีนักวิทยาศาสตร์ 239 คน จาก 32 ประเทศ เปิดเผยหลักฐานการแพร่กระจายของไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19 ) ผ่านละอองฝอยขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน สามารถแพร่ผ่านทางอากาศ (AirBorne) จึงเรียกร้องให้องค์การอนามัยโลก (WHO) ยอมรับว่าโควิด-19 มีการติดต่อในรูปแบบแอร์บอร์น และปรับคำแนะนำนั้น
เมื่อวันที่ 7 ก.ค. 2563 เว็บไซต์ hfocus.org เผยแพร่ข้อมูลจาก นพ.ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค (คร.) กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ระบุว่า ข้อมูลจนถึงขณะนี้โรคโควิด -19 ส่วนใหญ่ยังเป็นการแพร่ผ่านละอองฝอยขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน (Droplet) จากการไอ จาม และในระยะ 1 เมตร ส่วนการแพร่กระจายทางอากาศหรือ แอร์บอร์นนั้น เกิดขึ้นในโรงพยาบาล
ข่าวปลอม
https://www.hfocus.org/topics/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1ความตื่นตัวในการป้องกันการแพร่ระบาดโควิด-19 ทำให้มีการเผยแพร่ขาวปลอมว่า ผลิตภัณฑ์ใช้กลั้วคอชนิดหนึ่งช่วยทำลายเชื้อไวรัส ป้องกันไม่ให้เชื้อไวรัสจากลำคอลงสู่ปอด ซึ่งข้อเท็จจริงคือมีคุณสมบัติฆ่าเชื้อโรค