รายการความเห็น


11669 ความเห็น

💬 มีความเห็นส่วนตัว
wathineejankiri
เนื้อหา … ของข้อความนี้มีความเห็นส่วนตัว ไม่ใช่ข้อเท็จจริง การดื่มน้ำช่วยลดความยากอาหาร ช่วยย่อยอาหารระบบย่อยอาหารทำหน้าที่ได้อย่างเต็มที่ แต่ไม่ความดื่มมากเกินไป เพราะจะทำให้สมดุลน้ำในร่างกายเสีย ทำให้เซลล์บวมน้ำ เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
bubua156
ข้อมูลมาจาก สสส และ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
aomsin
มันอยู่ที่ความตั้งใจและไม่ตั้งใจของตัวเอง
ใช้ใน 0 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
wannipha49
ทำให้ไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนเวลาสอบได้คะแนนน้อยปัญหาที่ตามมาคือไม่มีสมาธิในการเรียนหากใช้มือถือก็จะแอบเอามาเล่นในเวลาเรียน ใช้เวลาเสพสื่อออนไลน์มากกว่าปกติย่อรายละเอียด
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
wannipha49
ทำให้ไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนเวลาสอบได้คะแนนน้อยปัญหาที่ตามมาคือไม่มีสมาธิในการเรียนหากใช้มือถือก็จะแอบเอามาเล่นในเวลาเรียน ใช้เวลาเสพสื่อออนไลน์มากกว่าปกติ
ใช้ใน 0 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Kittiya Saibuato
จริง หากได้รับแสงแดดปริมาณมากเกินไป เป็นระยะเวลานานกว่า 15 นาที รังสียูวีก็สามารถ ทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย รวมทั้งผิวหนัง ดวงตา และก่อให้เกิดมะเร็งผิวหนัง
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
dreamdream12124
ไม่จริงเสื้อแขนยาวเพียงป้องกันแสงแดดบางงส่วนแต่ไม่ได้ทำให้ขาวขึ้น
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
💬 มีความเห็นส่วนตัว
a0800083841
เนื้อหา … ของข้อความนี้มีความเห็นส่วนตัว ไม่ใช่ข้อเท็จจริง คิดว่าจริงนะคะ เพราะเวลาที่เราดื่มน้ำเปล่าเยอะๆคือเราจะกินอาหารได้ไม่ค่อยเยอะและยังสามารถลดความยากอาหารหรือของหวานด้วยค่ะ
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
💬 มีความเห็นส่วนตัว
Supawat
ความร้อน อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสขึ้นไปสามารถฆ่าเชื้อโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ SARS-CoV-2 ได้ ควรรับประทานอาหารปรุงสุก รวมถึงการซักผ้าด้วยระบบน้ำร้อน 60-90 องศาเซลเซียส เพื่อช่วยลดการปนเปื้อนของเชื้อโรค แต่การรับประทานน้ำร้อน หรืออาบน้ำร้อนไม่ได้ช่วยลดจำนวนเชื้อโรค
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
u64042060117
มันอยู่ที่ตัวนักศึกษาว่าจะมีความอดทนต่อ รอบข้างหรือเปล่า
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
สำเร็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
จะเริ่มฉีดวัคซีนให้กับนักเรียน นักศึกษา ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) จำนวน 29 จังหวัดก่อน โดยกลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียน นักศึกษา ที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ให้ดำเนินการพร้อมกัน 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร โดยกำหนดให้บริการวัคซีนไฟเซอร์ผ่านสถานศึกษาเป็นหลัก
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Jr.
จริงครับ สังเกตุจากเวลาคนเครียดมักจะดื่มแอลกอฮอล์;)
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
pwongrop.1234
เรารับรู้และเชื่อกันมานานแล้วว่าอาหารเช้า เป็นอาหารมื้อสำคัญที่สุด การอดอาหารเช้าอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ เบาหวาน รวมถึงโรคอ้วน มีวิจัยทางการแพทย์เรื่องภาวะโภชนาการในคนอเมริกันฉบับหนึ่ง ทำการศึกษาอย่างต่อเนื่องยาวนานถึง 40 ปี เริ่มตั้งแต่ปี 1971 ถึงปี 2010 สำรวจประชากรชาวอเมริกันจำนวนกว่า 6 หมื่นคน ซึ่งมีอายุระหว่าง 20-74 ปี และพบว่ามีประชากรมากถึง 25 เปอร์เซ็นต์ที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า แต่พวกเขาก็ยังมีสุขภาพที่ดี ไม่ได้เจ็บป่วยอย่างที่คาดคิด ส่งผลให้นักวิจัยทางการแพทย์รุ่นใหม่ๆ เริ่มมีข้อสงสัยว่า ที่จริงแล้วการที่คนเราไม่ได้รับประทานอาหารเช้า มีผลเสียต่อสุขภาพจริงๆ หรือเปล่า การรับประทานอาหารเช้า อาจช่วยให้เราไม่อ้วน อาจช่วยลดความเสี่ยงกับการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น เบาหวานหรือโรคหัวใจ เพราะมีวิจัยอีกหลายฉบับบอกว่าอย่างนั้น แต่ถ้าเราลองมาวิเคราะห์กันแบบเจาะลึกแล้วจะพบว่าวิจัยพวกนั้นเกือบทั้งหมดเป็น Observational Study หรือวิจัยที่เกิดขึ้นจากการเฝ้าสังเกตและบันทึกข้อมูล ไม่ได้เป็น Experimental Study หรือการทดลองแบบเอาคนมาอดอาหารเช้า แล้วทำการศึกษาเปรียบเทียบกับกลุ่มคนที่รับประทานอาหารเช้าอย่างจริงจัง นักวิชาการหลายคนจึงบอกว่ายังสรุปไม่ได้หรอกว่าการรับประทานอาหารเช้าจะทำให้สุขภาพดี เพราะที่จริงแล้วยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่างที่ส่งผลต่อสุขภาพของคนเรา แถมเมื่อปี 2014 ที่ผ่านมา มีวิจัยของนักโภชนาการญี่ปุ่น แสดงให้เราเห็นว่าการอดอาหารเช้า ไม่มีผลต่ออัตราการเผาผลาญพลังงานในแต่ละวันด้วยซ้ำ นั่นแปลง่ายๆ อย่างตรงไปตรงมาว่า การอดอาหารเช้าไม่ได้ส่งผลทำให้เราอ้วนครับ! วิจัยฉบับเดียวกันยังบอกอีกด้วยว่า อดอาหารเช้าอาจทำให้เราหิว และส่งผลทำให้กินอาหารกลางวันมากกว่าเดิม แต่เอาเข้าจริงแล้ว นักวิจัยพบว่าการที่เราหิวและกินมื้อกลางวันมากขึ้น เป็นการกินมากขึ้นอีกนิดหน่อยไม่ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ และจำนวนพลังงานแคลอรีที่เพิ่มขึ้นก็ไม่เท่ากับการกินสองมื้อ (มื้อเช้า + มื้อกลางวัน) ด้วยซ้ำ https://thestandard.co/lifestyle-wellness-breakfast-benefits/
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Rujipon
จริงค่ะ เพราะแสงแดดมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวัน แต่ถ้าได้รับแสงแดดปริมาณมากเกินไป เป็นระยะเวลานานกว่า 15 นาที รังสียูวีก็สามารถ ทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย รวมทั้งผิวหนัง ดวงตา และก่อให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ซึ่งในช่วง เวลา 09.00 – 15.00 น. ถือเป็นช่วงที่มีรังสียูวีมากค่ะ
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
u64042940106
แอลกอฮอล์กินแก้เครียดได้ไหม
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
u64042940106
แอลกอฮอล์กินแก้เครียดได้ไหม
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
u64042940106
แอลกอฮอล์บางคนกินแล้วอาจช่วยแก้เครียดได้ แต่กินให้พอดีจะดีกว่า
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Natchaya Tadto
ขึ้นอยู่กับว่าวัสดุที่ใช้ในการทำนั้นมีประสิทธิภาพมากพอหรือเปล่าแต่การสวมแมสก็สามารถป้องกันได้แต่ไม่เต็ม100เปอร์เซ็นต์
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
nilawankram
มีความเป็นไปได้ค่ะ เนื่องจาก “น้ำเปล่า” ไร้แคลอรี การดื่มน้ำเปล่าจะช่วยปรับอุณหภูมิในร่างกายให้ลดลง ช่วยดึงไขมันและพลังงานที่สะสมอยู่ตามร่างกาย และช่วยในการเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้น จึงทำให้น้ำหนักลดลงได้ https://mgronline.com/goodhealth/detail/9620000033505
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
iceza050
มีความเป็นไปได้ครับเพราะว่า การเล่นเกมอาจทำให้เราเจอคำศัพท์ภาษาต่างประเทศ ทำให้เราชินหูชินตา จนเราสามารถจำได้ มีประโยชน์ในเรื่องคำคัพท์ หรืออาจจะเป็นการสนทนากับคนในเกมที่เป็นชาวต่างชาติ ก่อให้เกิดการฝึกภาษาไปในตัว
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
prangsuda
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย แอ็กซ็อง มาร์แซย์ ฝรั่งเศส ได้ทำการทดลองฆ่าเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุโรคโควิด-19 ด้วยการใช้ความร้อนถึง 60 องศาเซลเซียส (140 องศาฟาเรนไฮต์) เป็นเวลาหนึ่งชั่วโมง พบว่าไวรัสยังไม่ตายทั้งหมด ต่อมาเมื่อเพิ่มอุณหภูมิไปเกือบถึงจุดเดือดจึงสามารถฆ่าไวรัสได้อย่างสมบูรณ์
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
sittiponbanber
เล่นเกมที่มันมีอะไรให้อ่านเยอะๆ เช่นพวกเกม RPG เน้นเนื้อเรื่อง ตอนเล่นก็อ่านแบบพยายามทำความเข้าใจ และไม่กดข้าม คำไหนไม่รู้ความหมายก็เดาๆความหมายมันไปจากคำใกล้เคียง+สถานการณ์ตอนนั้น พอเลิกเล่นแล้ว ถ้ายังพอจำคำไหนได้ก็มาหาความหมายใน dict แบบนี้มันจะได้ทักษะการอ่านกับการฟัง (ถ้าเกมมันมีเสียงพากย์) แล้วก็พวกคำศัพท์ต่างๆ ถ้าจะเอาทักษะการพูดก็ตามคห.2 แต่ถ้าทักษะการเขียนนี่ต้องฝึกเอง พึ่งเกมไม่ได้อ่ะผมว่า
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
ซี นั่น
ไม่จริงค่ะ เป็นข่าวเท็จ ทางกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริง จากการตรวจสอบสรรพคุณตามตำรายาไทยไม่พบว่า กระชาย น้ำผึ้ง และมะนาวมีผลเกี่ยวกับกระดูก และสำหรับการสืบค้นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ก็ไม่พบงานวิจัยที่เกี่ยวกับการป้องกัน และรักษาโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท แต่สูตรนี้อาจช่วยลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด แก้ปวดมวนท้อง ขับลม ช่วยให้กระเพาะ และลำไส้เคลื่อนไหวดีขึ้น และแก้ไอ ขับเสมหะ ฟอกโลหิตประจำเดือนของสตรีจากความเปรี้ยวจากน้ำมะนาว
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
ห๊ะ
ความร้อน อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสขึ้นไปสามารถฆ่าเชื้อโคโรน่าไวรัส SARS-CoV-2 ได้ แต่การรับประทานน้ำร้อน หรืออาบน้ำร้อนไม่ได้ช่วยลดจำนวนเชื้อโรคแต่อย่างใด
ใช้ใน 1 ข้อความ3 ปีที่แล้ว