รายการความเห็น


12598 ความเห็น

❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌เนื้อแพะช่วยรักษาผู้เป็นหอบหืดเรื้อรัง ไตอ่อนแอ และผู้มีอาการเจ็บปวดตามตัว . ตามที่มีการเผยแพร่คลิปวิดีโอที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง เนื้อแพะช่วยรักษาผู้เป็นหอบหืดเรื้อรัง ไตอ่อนแอ และผู้มีอาการเจ็บปวดตามตัว ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย หน่วยงานสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ พบสัญญาณพายุเข้าต่อเนื่องทุกภาค ตั้งแต่วันที่ 2 -13 มี.ค. 64 . ตามที่มีการแชร์ข้อความประกาศเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง พบสัญญาณพายุเข้าต่อเนื่องทุกภาค ตั้งแต่วันที่ 2 -13 มี.ค. 64 ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย กรมอุตุนิยมวิทยา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
สธ.พบบุคลากรทางการแพทย์ จ.สมุทรสาสาคร แพ้วัคซีนโควิด-19 รุนแรง อาเจียน ความดันต่ำ ที่ศูนย์แถลงข่าวสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวถึง กรณี นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษก ศบค.เปิดเผยว่า พบผู้ได้รับวัคซีนโควิด-19 ของบริษัทซิโนแวคฯ มีอาการแพ้ยาเพนิซิลลินและแพ้วัคซีน หลังฉีด 3 ชั่วโมง 1 ราย เป็นบุคลากรทางการแพทย์
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Ad.tar
เนื้อหาอยู่ระหว่างการตรวจสอบ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง โดนยึดใบขับขี่จะไม่ได้คืน ต้องไปสอบทำใหม่เท่านั้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคมพบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีการส่งต่อข้อมูลผ่านโซเชียลมีเดีย เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ขสมก. เตรียมยกเลิกรถเมล์ แก้ปัญหารถติด ภายในเดือนมกราคม ปี 65 ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) กระทรวงคมนาคม พบว่าข้อมูลที่ปรากฏดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
ในช่วงที่เชื้อไวรัส COVID-19 กำลังระบาดไปทั่วโลก ผู้ที่มีโรคประจำตัวอย่างโรคอ้วนและโรคเบาหวาน หากได้รับเชื้อไวรัส COVID-19 อาจจะมีอาการรุนแรงมากกว่าคนทั่วไป ดังนั้นการรู้เท่าทันความเสี่ยงและใส่ใจดูแลตัวเองอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องตระหนักอยู่เสมอ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
วัคซีนของทั้งไฟเซอร์และอ็อกซ์ฟอร์ด-แอสตราเซเนกา "มีประสิทธิภาพสูง" ในการลดการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่และลดอาการป่วยรุนแรงในหมู่คนชราในสหราชอาณาจักร โดยสามารถลดจำนวนคนไข้สูงวัยอาการหนักที่ถึงขั้นต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลได้มากกว่า 80% จากข้อมูลอย่างเป็นทางการที่เผยแพร่ในวันจันทร์(1มี.ค.)
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
ใครมีแผ่นป้ายทะเบียนรถสีซีดจาง ในหมวด 3กก-4กฆ กทม. และบางหมวดของตจว. ที่ขนส่งออกให้วันที่ 1 ส.ค.-31 ธ.ค. 57 ซึ่งอาจเกิดจากสารที่เป็นส่วนผสมของสีที่มีคุณลักษณะและการผสมที่ไม่เหมือนหรือเท่ากัน ทำให้อายุการใช้งานสั้นกว่าปกติ ขนส่งบริการเคลือบใหม่ให้ฟรีถึง 31 ธ.ค. 64 #ข่าวช่องวัน https://t.co/uYnrICbthB
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
แจง นายกฯ ถือขวดวัคซีนโควิด ยันเป็นขวดตัวอย่าง ❌ ไม่ใช่วัคซีนจริง 💉 ภายหลังวัคซีนเดินทางถึงไทย ได้มีการนำไปจัดเก็บ ณ คลังองค์การเภสัชกรรม อาคารศรีเพชร บริษัท DKSH (ประเทศไทย) จำกัด อยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการจัดเก็บ #วัคซีนโควิด #วัคซีน #โควิด19 https://t.co/qvtIHksOzD
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
กองสลากฯ รับสมัครร้านขายลอตเตอรี่ 80 บาท นำร่อง กทม.-นนทบุรี แก้ปัญหาหวยแพง พร้อมเสนอเพิ่มโควต้าให้เป็น 25 เล่ม โดยจะเปิดรับสมัครถึง 5 มี.ค.64 นี้ และประกาศผลคัดเลือกตัวแทนภายในเดือน พ.ค.64
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง จ้างเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีทำงาน ไม่ผิดกฎหมาย ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีคลิปวิดีโอแนะนำ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ดื่มน้ำข้าวผสมไข่ขาวดิบ ช่วยบำรุง และรักษาไตเสื่อม ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย หน่วยงานสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีการเผยแพร่ข้อความผ่านโซเชียลมีเดีย เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ถูกลอตเตอรี่ ต้องขึ้นรางวัลที่กองสลากเท่านั้น และเสียภาษี 5% ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล กระทรวงการคลัง พบว่าข้อมูลที่ปรากฏดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง บขส. เพิ่มช่องทางซื้อตั๋วรถโดยสารผ่าน Shopee เตรียมเปิดให้บริการในเดือน ก.ค. 64 ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลจริง
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีการแชร์ข้อความชวนเชื่อผ่านโซเชียลมีเดีย เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง กินยาแคปซูลมาก จะได้รับอันตรายจากตัวแคปซูล ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Ad.tar
เนื้อหานี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
กพท.ผ่อนปรนให้เครื่องบินระหว่างประเทศเข้าออกประเทศไทย เพื่อเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารและเปลี่ยนลำ ตามมติศบค. เริ่ม 1 มี.ค.นี้
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Ad.tar
เนื้อหานี้ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ฉีดวัคซีนปอดอักเสบ สามารถป้องกันการติดโรคโควิด-19 ได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากที่มีการแชร์ข้อมูลว่าเมื่อฉีดวัคซีนปอดอักเสบ จะช่วยป้องกันการติดโรคโควิด-19 ได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ชี้แจงว่า เป็นข้อมูลเท็จ เพราะการใช้วัคซีนป้องกันโรคต้องเป็นวัคซีนที่ผลิตขึ้นจำเพาะกับเชื้อนั้น ๆ โดยวัคซีนปอดอักเสบจะมีผลป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากเชื้อที่จำเพาะต่อวัคซีนนั้น ไม่สามารถป้องกันปอดอักเสบที่เกิดจากเชื้อชนิดอื่นได้ และไม่แนะนำให้ฉีดวัคซีนปอดอักเสบเพื่อหวังผลในการป้องกันการติดโรคโควิด-19
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง เมื่อเกิดรอยฟกช้ำใช้ยาหม่องทาได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากที่มีการแนะนำให้ใช้ยาหม่องทาเมื่อเกิดรอยฟกช้ำนั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ชี้แจงว่า ไม่ควรทายาหม่องบริเวณที่เกิดรอยฟกช้ำ เพราะยาหม่องทำให้เกิดความร้อนบริเวณที่ทากระตุ้นให้หลอดเลือดขยายตัวมากขึ้น และทำให้เลือดมารวมตัวกันมากขึ้น อาการฟกช้ำจึงแย่ลง โดยรอยฟกช้ำ มีสาเหตุมาจาก ร่างกายได้รับแรงกระแทก เช่น ถูกชน ถูกตี ทำให้หลอดเลือดแตก และขยายตัว ทำให้มีเลือดมาเลี้ยงยังบริเวณที่ถูกกระแทก เกิดเลือดคั่งใต้ผิวหนังปรากฏเป็นรอยฟกช้ำ ซึ่งเมื่อเกิดอาการปวด บวม ฟกช้ำ การปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธีจะช่วยให้อาการดีขึ้นได้ โดยปฏิบัติตนดังนี้ 1. 48 ชั่วโมงแรก ประคบด้วยน้ำเย็น หรือประคบด้วยน้ำแข็ง 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15-30 นาที 2. เมื่อพ้น 48 ชั่วโมงแล้ว ประคบร้อนต่อ 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15 นาที โดยอาการจะค่อยๆดีขึ้น และหายเองได้ภายใน 2 สัปดาห์
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ฉีดวัคซีนปอดอักเสบ สามารถป้องกันการติดโรคโควิด-19 ได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากที่มีการแชร์ข้อมูลว่าเมื่อฉีดวัคซีนปอดอักเสบ จะช่วยป้องกันการติดโรคโควิด-19 ได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ชี้แจงว่า เป็นข้อมูลเท็จ เพราะการใช้วัคซีนป้องกันโรคต้องเป็นวัคซีนที่ผลิตขึ้นจำเพาะกับเชื้อนั้น ๆ โดยวัคซีนปอดอักเสบจะมีผลป้องกันการเกิดปอดอักเสบจากเชื้อที่จำเพาะต่อวัคซีนนั้น ไม่สามารถป้องกันปอดอักเสบที่เกิดจากเชื้อชนิดอื่นได้ และไม่แนะนำให้ฉีดวัคซีนปอดอักเสบเพื่อหวังผลในการป้องกันการติดโรคโควิด-19
ใช้ใน 0 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
Anti-Fake News Center Thailand ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย จำนวนผู้เข้าชม 5,170,059 ค้นหาข่าวปลอม แจ้งเบาะแสข่าว วันที่ข่าว : ทั้งหมด หมวดหมู่ :ทั้งหมด ทั้งหมด ข่าวปลอม อย่าแชร์! เมื่อเกิดรอยฟกช้ำใช้ยาหม่องทาได้ วันที่ 26 ก.พ. 2564 08:50 น. FacebookTwitterLine ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง เมื่อเกิดรอยฟกช้ำใช้ยาหม่องทาได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากที่มีการแนะนำให้ใช้ยาหม่องทาเมื่อเกิดรอยฟกช้ำนั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ชี้แจงว่า ไม่ควรทายาหม่องบริเวณที่เกิดรอยฟกช้ำ เพราะยาหม่องทำให้เกิดความร้อนบริเวณที่ทากระตุ้นให้หลอดเลือดขยายตัวมากขึ้น และทำให้เลือดมารวมตัวกันมากขึ้น อาการฟกช้ำจึงแย่ลง โดยรอยฟกช้ำ มีสาเหตุมาจาก ร่างกายได้รับแรงกระแทก เช่น ถูกชน ถูกตี ทำให้หลอดเลือดแตก และขยายตัว ทำให้มีเลือดมาเลี้ยงยังบริเวณที่ถูกกระแทก เกิดเลือดคั่งใต้ผิวหนังปรากฏเป็นรอยฟกช้ำ ซึ่งเมื่อเกิดอาการปวด บวม ฟกช้ำ การปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธีจะช่วยให้อาการดีขึ้นได้ โดยปฏิบัติตนดังนี้ 1. 48 ชั่วโมงแรก ประคบด้วยน้ำเย็น หรือประคบด้วยน้ำแข็ง 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15-30 นาที 2. เมื่อพ้น 48 ชั่วโมงแล้ว ประคบร้อนต่อ 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15 นาที โดยอาการจะค่อยๆดีขึ้น และหายเองได้ภายใน 2 สัปดาห์
ใช้ใน 0 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ธ.กรุงไทย ส่ง SMS ให้ลงทะเบียนรับเงินเพิ่ม 5,000 บาท ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย ธนาคารกรุงไทย พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากกรณีที่ประชาชนได้รับข้อความทาง SMS ที่ระบุว่าผู้ที่มีบัญชีธนาคารกรุงไทย และมีคุณสมบัติตามเงื่อนไขโครงการเราชนะ มีสิทธิ์ได้รับเงินเพิ่ม 5,000 บาทจากธนาคาร พร้อมแนบลิงก์เพื่อให้ลงทะเบียนนั้น ทางธนาคารกรุงไทย ได้ชี้แจงว่า SMS ดังกล่าวเป็นของปลอม ที่แอบอ้างใช้ชื่อธนาคารกรุงไทย เพื่อหลอกลวงเอาข้อมูลส่วนตัวของประชาชน โดยธนาคารไม่มีนโยบายส่ง SMS ไปยังผู้ร่วมโครงการเราชนะ และไม่มีนโยบายส่ง SMS ไปยังลูกค้า เพื่อสอบถามข้อมูลส่วนตัว หากได้รับ SMS ในลักษณะนี้ให้ตั้งข้อสังเกตว่าเป็น SMS ปลอม และไม่ควรกดลิงก์ไปที่เว็บไซต์ หรือกรอกข้อมูลส่วนตัวโดยเด็ดขาด
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
จากที่มีการแชร์ “วิธีข้อปฏิบัติตัวในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ด้วยการดื่มน้ำอุ่นผสมเกลือ น้ำสมุนไพร และน้ำมะนาว เพราะเชื้อ COVID-19 กลัวน้ำดังกล่าว” กรมควบคุมโรคได้ชี้แจงว่า เรื่องดังกล่าวไม่เป็นจริง การกระทำดังกล่าวยังไม่มีรายงานทางการแพทย์ยืนยันว่าช่วยฆ่าเชื้อไวรัสได้ ซึ่งการป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสฯ ที่ดีที่สุด คือ ลดการสัมผัสที่ไม่ไม่จำเป็น หมั่นล้างมือให้สะอาด หลีกเลี่ยงการไปในพื้นที่แออัด และสวมหน้ากากอนามัย
ใช้ใน 1 ข้อความ4 ปีที่แล้ว