รายการความเห็น
12549 ความเห็น
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Kittitat Nct
จริงที่สุด
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Nut Nannapat
นิทานหลอกเด็ก
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Mint Siriwan
จริงทำให้แมวรู้สึกมีความสุขกับสิ่งรอบข้างคล้ายกับอาการเมา
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Aum Aummii
https://www.bangkokhospital.com/content/respiratory-syncytial-virus
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
💬 มีความเห็นส่วนตัว
2542wongjan
นั้นสิแต่ว่าน่าสงสัย
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Ratchakron Jonjarun
แหมบเหมือนตูดไก่
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Natcha Phanon
น่าจะพบวัคซีน
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Panadda Pesuriya
หนูโดนบูลลี่ค่า
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Mint Nattida Kamnerdchart
https://www.wongnai.com/listings/best-review-from-Rhinoplasty-clinic
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Natcha Phanon
https://www.who.int/thailand/news/feature-stories/detail/team-thailand-for-covid-19-vaccine-THA
ใช้ใน 0 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Pimchanok Ngensrisuk
https://teerapornclinic.com/nose-job-campaign/?utm_source=google&utm_medium=cpc&utm_campaign=product_nose_ad6&gclid=EAIaIQobChMIlZuV8ZXS7AIVyn8rCh06kgDgEAAYAiAAEgKFIPD_BwE
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Zhenking Sps
https://th.yanhee.net/%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%81/
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
💬 มีความเห็นส่วนตัว
2542wongjan
เห็นว่าเขาไม่ออกเพราะเขาไม่ผิด ....
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Pimchanok Ngensrisuk
จริงค่ะ
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Mint Nattida Kamnerdchart
จริง
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
anonymous
ชัวร์ก่อนแชร์คอนเฟิมค่ะ
ใช้ใน 2 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
anonymous
มีคนทดลองทำดู ทดลองวางเหรียญแล้วใช้โปรแกรม detect ความร้อนจาก notebook ทดลองดู ไม่เป็นความจริง ดูได้ตามลิงค์ด้านล่าง
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
chalanla_hi
เริ่มปฐมภูมิ1พย.ในกทม.ค่ะ ไม่ใช่ทั้งระบบ อ่านรายละเอียดนะคะอย่าดูแต่พาดหัว
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
Sahawut Temdei
นี่เป็นโฆษณาของ …
นี่คือข้อความทดสอบ
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Sahawut Temdei
ดีคับไช้งานดี
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
คณบดีนิติศาสตร์ 4 มหาลัย “มธ.-จุฬาฯ-มช.-ม.อ.สงขลาฯ” ยื่น “ชวน” ใช้กลไกสภาฯแก้ปัญหา จี้รัฐบาลเลิกประกาศฉุกเฉิน ชี้ไม่ชอบด้วย รธน. ให้ศาลตัดสินคดีเป็นธรรม แอมเนสตี้ขย่ม รบ.เลิกคุกคามสื่อ ฮิวแมนไรต์ฯขอทั่วโลกร่วมกดดัน องค์กรนิสิต-นศ.ลั่น “ตู่” ต้องลาออก กลุ่มราษฎรจัดบิ๊กเซอร์ไพรส์ของจริง เคลื่อนขบวนไปทำเนียบ ทะลวงแนวกั้น แบ่งสายบุก พณ.บี้ “จุรินทร์” ถอนตัว กลุ่มปกป้องสถาบันจุดพรึบทั่ว ปท. นัดชุมนุมใหญ่ 31 ต.ค. เปิดแนวปะทะที่ ม.รามฯ ใช้กำลังกรูตะเพิดกลุ่มราษฎร “ประยุทธ์” ออกรวมการขอม็อบถอยกันคนละก้าว หาทางออกในสภาฯก่อนพากันลงเหว ไม่วายแขวะทำน่าหดหู่รุมตีตำรวจ ตร. รวบ “สุรนาถ” ข้อหา ม.110 ศาลไม่ให้ประกัน “เพนกวิน-รุ้ง” สั่งปล่อยตัว “เจมส์ มช.” เพิ่มหลักทรัพย์ประกัน “อานนท์” ศาลอาญายกเลิกคำสั่งปิดวอยซ์ทีวี รอลุ้นศาลแพ่งนัดฟังคำสั่งถอน พ.ร.ก.ฉุกเฉิน
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
คณะรัฐมนตรีมีมติเตรียมเปิดประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ หวังถกปัญหาช่วยแก้วิกฤตความขัดแย้งในวันที่ 26 และ 27 ตุลาคมนี้
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
MEA ร่วมกับ นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ร.5 จัดนิทรรศการประวัติศาสตร์ไฟฟ้าไทย
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง
Ad.tar
เตือนภัย!! ลิงก์แจก iPhone 12 ฟรี ระบาด อย่าแชร์ต่อ
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
Fake News คืออะไร จะรู้ได้อย่างไรว่าข่าวไหนคือ Fake News
เราเห็นข่าวลวงในสมาร์ทโฟนกันบ่อยมากจนไม่อยากเชื่ออะไรง่าย ๆ แต่ก็ไม่รู้จะแยกแยะอย่างไร ข่าวลวงหรือสารสนเทศปลอม หรือ fake news เป็นสิ่งที่เราต้องเผชิญอีกยาวนานและบางครั้งมีผลต่อการตัดสินใจสำคัญในชีวิตเอาด้วย
fake news มีมายาวนานแล้วตั้งแต่มีมนุษย์เป็นตัวตนแบบปัจจุบันเมื่อ 150,000 ปีก่อน เพื่อทำลายคู่แข่งหรือศัตรู จนแม้กระทั่งใช้ในสงครามเพื่อลวงข้าศึก นิยายจีนคลาสสิก สามก๊ก มหาภารตะ หรือแม้แต่รามเกียรติ์ก็มี fake news
สิ่งที่เรียกว่า fake news นั้น แยกออกได้เป็น 3 ลักษณะกล่าวคือ
(1) ข่าวลือ หรือเรื่องลวงโลก (เช่น ฝุ่นจะบังโลกจนแสงแดดจากพระอาทิตย์ส่องไม่ถึง โลกจะมืดเป็นเวลาหลายวัน)
(2) misinformation ซึ่งหมายถึงสารสนเทศที่ไม่ถูกต้อง โดยมาจากความผิดพลาดโดยไม่ตั้งใจ
(3) disinformation คือสารสนเทศไม่จริงที่มีผู้จงใจปล่อยออกมาเพื่อหลอกลวงผู้คน fake news นั้นอยู่ในประเภทข่าวลวงโลกและ disinformation
นับตั้งแต่เกิดโลก social media ในทศวรรษ 1990 fake news ก็เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นไม่เว้นแต่ละวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคำว่า fake news ถูกใช้โดย Donald Trump ซึ่งมีความหมายแตกต่างออกไป กล่าวคือเป็นสารสนเทศที่ไม่เป็นผลดีกับตัวเขา หรือออกจากแหล่งของสื่อที่เขาไม่ชอบเพราะไม่เชียร์เขา ที่ขบขันคือตัว Trump เองเป็นแหล่งของfake news เสียเองเพราะเขาชอบพูดสิ่งที่ไม่จริงอย่างหน้าเฉยตาเฉยไม่อายฟ้าดิน (สถิติก็คือโกหก 4,229 ครั้งใน 558 วันที่เป็นประธานาธิบดี หรือเฉลี่ยวันละ 7.6 ครั้ง)
fake news ไม่มีวันหมดไปจากโลกตราบที่มีคนเชื่อและมีคนชั่วที่สร้างมันขึ้นมาตลอดเวลาเนื่องจากมนุษย์ต้องใช้สื่ออยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ หรือโซเชียลมีเดียในปัจจุบัน นักสังคมวิทยาชื่อ Elihu Katz (1960) ระบุว่ามี 5 เหตุผลที่เราใช้สื่อ กล่าวคือ
(1) เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสาร และเพื่อให้การศึกษาแก่ตนเอง
(2) เพื่อความบันเทิง
(3) เพื่อให้เราสามารถบอกตัวเราเองได้ว่าเราเป็นใครจากการดูผู้คนในสื่อ เช่น เป็นคนประเภทใด เป็นคนคิดแบบใด เป็นคนมีฐานะในสังคมและเศรษฐกิจระดับใด ฯลฯ จากการเปรียบเทียบเพื่อความเข้าใจตนเอง
(4) เพื่อการสนทนาโดยสามารถเอาเรื่องที่พานพบในสื่อไปพูดคุยกับคนอื่น ๆ ได้ เนื่องจากมนุษย์เป็น “สัตว์สังคม”
(5) เพื่อหลีกหนีชีวิตจริงไปสู่โลกแห่งความสนุกและความฝัน
เมื่อเราจำเป็นต้องใช้สื่อด้วยเหตุผลดังกล่าว เราจึงไม่มีวันหลีกหนีมันได้แน่นอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องพบ fake news ที่มีอยู่ดาษดื่นจนอ่านไม่ไหว มีคำแนะนำอยู่หลายประการจากผู้รู้ว่าจะรู้ได้อย่างไรว่ามันเป็น fake news
- ดูแหล่งที่มา ให้ตรวจสอบที่มา เช่น เว็บไซต์ พันธกิจของแหล่ง จุดที่สามารถติดต่อได้
- อ่านทั้งหมด อย่าอ่านแต่เพียงหัวเรื่องที่มักเขียนเว่อร์เพื่อให้คลิกเข้าอ่าน และนำไปพูดต่อ ต้องอ่านเรื่องราวทั้งหมดและประเมินว่าพอเป็นจริงไหม
- ตรวจสอบคนเขียน เช็คว่าเป็นใคร มีตัวตนจริงหรือไม่ น่าเชื่อถือไหม อย่าเพียงแค่เห็นชื่อก็เชื่อทันที
- ตรวจแหล่งอื่นที่ใกล้เคียง คลิกไปที่แหล่งเหล่านั้นเพื่อหาข้อมูลสนับสนุนและพิจารณาข่าวที่สงสัย
- ตรวจสอบวันที่เหตุการณ์เกิดขึ้น บ่อยครั้งที่ fake news เอาข่าวเก่าที่เกิดขึ้นจริงมาฉายซ้ำ (เช่น เมื่อเร็ว ๆ นี้มีรูปการพบเครื่องบินลำที่เพิ่งตกแต่ไปเอารูปเก่ามา) ต้องสังเกตรายละเอียดในภาพว่าไม่ขัดแย้งกับสิ่งที่เขาบอก
- ตรวจว่าเป็นเรื่องตลกหรือประชดประชันหรือไม่ ค้นคว้าที่เว็บไซต์และหาตัวผู้เขียน
- เช็คว่าความเอนเอียงของเราช่วย บดบังวิจารณญาณหรือไม่ (เช่น ไม่ชอบคนนี้ เมื่อมีข่าวไม่ดีมาก็เชื่อทันที)
- ถามผู้เชี่ยวชาญหรือเช็คกับแหล่งที่ให้ข้อมูลก่อนที่จะเชื่อ
ปัจจุบันมีสิ่งที่หลอกลวงเราได้ลึกซึ้งกว่านั่นก็คือ deepfake หรือเทคโนโลยีช่วยตัดต่อคลิปปลอมเพื่อลวงให้เข้าใจผิด เช่น ภาพที่คนหนึ่งพูดเป็นเรื่องเป็นราวที่น่าเกลียด ทุกคำพูดเขาได้พูดออกมาจริงแต่ต่างกรรมต่างวาระกัน แต่คนตัดต่อสามารถเอาแต่ละคำพูด ประโยคเหล่านั้นมาตัวต่อเรียงกันอย่างแนบเนียน
deepfake ทำได้ดีมากเพราะใช้ AI (ปัญญาประดิษฐ์) ที่เรียนรู้ลักษณะหน้าตา ท่าทาง ตลอดจนท่วงทำนองการพูดของบุคคลที่จะนำไปตัดต่อคลิป เทคโนโลยีมีหลายรูปแบบ มีทั้งการเอาหน้าคนหนึ่งไปใส่อีกคนหนึ่ง การแสดงอารมณ์ของหน้าคนต่อคำพูดที่ไม่ใช่สิ่งที่ได้ยินจริง การเอาการขยับร่างกายของคนหนึ่งมาตัดต่อให้แก่อีกคนหนึ่ง ฯลฯ ปัจจุบันมีแอพพลิเคชั่นที่เาสร้าง
สามารถตรวจสอบข่าวลวงได้ที่ www.cofact.org
ใช้ใน 1 ข้อความ・5 ปีที่แล้ว