รายการความเห็น


12556 ความเห็น

✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
โฆษกศบค. เผย เตรียมทดลอง "คลายล็อกดาวน์" ระยะ2 ระบุ 14-15พ.ค.ยกร่างประกาศและเปิดบางห้างฯ เพื่อประเมินก่อนออกประกาศจริง 17พ.ค.
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
จีนพบผู้ป่วยกลุ่มใหม่ในอู่ฮั่น หลังเพิ่งพบผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อนในช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ชี้เป็นกลุ่มที่ไม่แสดงอาการ แต่มีผลตรวจ โควิด 19 เป็นบวก ขณะที่ซูหลานสั่งล็อกดาวน์แล้ว หลังพบผู้ป่วย 11 ราย
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naydoitall
ผู้เชี่ยวชาญด้านไวรัสวิทยา ยืนยันเนื้อสัตว์ หมู ไก่ เป็ด รับประทานได้ไร้เชื้อโควิด19 ย้ำอาหารต้องเน้นความสะอาดและปรุงสุกให้ความร้อนฆ่าเชื้อโรค เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภค ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวย้ำว่า ปกติเชื้อโคโรน่าไวรัส สามารถพบได้ในสัตว์ทุกชนิด ส่วนเชื้อโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ที่เกิดโรคในคน หรือ โควิด 19 นั้น จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในจีน พบว่าเชื้อนี้ติดต่อได้ในสัตว์ตระกูล Feline เช่น แมวและเสือ เป็นต้น สำหรับสัตว์เศรษฐกิจ เช่น หมู ไก่และเป็ด งานวิจัยพบว่าจะไม่สามารถติดโรคโควิด 19 ได้อย่างแน่นอน นอกจากนี้โรคโควิด 19 ที่แพร่จากคนไปสู่สัตว์เลี้ยงยังไม่พบหลักฐานว่าเชื้อโรคชนิดนี้แพร่กลับมาสู่คนได้ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ“งานวิจัยชี้ชัดว่าไวรัสตัวนี้ไม่ติดใน หมู ไก่ เป็ด หรือปศุสัตว์อื่นๆ ประชาชนจึงสบายใจได้ในการบริโภคเนื้อสัตว์เหล่านี้ แต่อยากเน้นต้องปรุงอาหารให้สุก สะอาด และไม่แนะนำให้ทานอาหารดิบๆ สุกๆ เด็ดขาดในช่วงนี้ การทานอาหารที่สุกความร้อนสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ทุกชนิดรวมทั้งโควิด19
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
supinya
หลายคนอาจเกิดความสงสัยหลังพบเห็นหน้ากากอนามัยแบบที่มีวาล์วคอยระบายอากาศให้ดำเนินสะดวก ไม่อึดอัด ซึ่งเท่ากับว่ามีช่องการเข้า-ออกของอากาศได้น่ะสิ และหากผู้ที่ป่วยระบบทางเดินหายใจไอจามจะมีโอกาสที่เชื้อไวรัสพุ่งออกมาทางวาล์วได้หรือไม่? พญ.พรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงได้ออกมาอธิบายเกี่ยวกับหน้ากากอนามัยแบบวาล์ว พร้อมไขข้อสงสัยถึงโอกาสที่เชื้อไวรัสพุ่งออกมาทางวาล์ว ถ้ามีอาการไอจามจริงๆ ไม่แนะนำให้ใส่หน้ากากแบบวาล์ว ที่เราแนะนำเสมอจะเป็นหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ (surgical face mask) เนื่องจากฝั่งด้านในจะอุ้มละอองฝอยที่ไอจาม โดยที่ตัวกลางจะคอยกรองเชื้อโรค ส่วนด้านนอกจะกันน้ำจึงไม่ทำให้ละอองฝอยพุ่งออกไป แต่หากใส่หน้ากากแบบวาล์ว เวลาที่เราไอจามละอองฝอยสามารถออกมาที่วาล์วได้ แต่ถึงกระนั้นด้วยความที่วาล์วมีแผ่นกรองจึงช่วยลดความแรงของการไอจามลงได้บ้าง อาจจะพุ่งไปไม่ได้ไกลมาก ซึ่งทางที่ดีแนะนำเป็นหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ถูกกว่า ปลอดภัยทั้งตัวเราและผู้คนรอบข้าง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Ad.tar
จากงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสต์เทิร์น ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสภิติจากโรงพยาบาลและคลินิกทั่วประเทศจีน ฝรั่งเศษ เยอรมนี อิตาลี อิหร่าน เกาหลีใต้สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาราจักร และสหรัฐฯ ทีมวิจัย ค้นพบความเกี่ยวพันที่ชัดเจนระหว่างระดับวิตตามินดี
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน
Ad.tar
ดร.ภญ.นันทกาญจน์ สุวรรณปิฎกกุล ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ องค์การเภสัชกรรม กล่าวว่า อภ.ได้วิจัยและพัฒนา ยาฟาวิพิราเวียร์ (Favipiravir) มาตั้งแต่กลางเดือนมีนาคม 2563 โดยในระยะแรกนี้ได้จัดซื้อตัวอย่างวัตถุดิบมาทดลองพัฒนาสูตรเบื้องต้น 100 กรัมและสั่งซื้อเพิ่มอีก 5 กิโลกรัม จะมาถึงเดือนมิถุนายนนี้ เพื่อนำมา พัฒนาสูตรตำรับ และขยายขนาดการผลิต ตลอดจนศึกษาความคงสภาพ และประสิทธิผลทางชีวสมมูล คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จะมีข้อมูลพร้อมยื่นขึ้นทะเบีย
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
💬 มีความเห็นส่วนตัว
Ad.tar
เนื้อหานี้ มีข้อมูลที่เป็นความเห็นส่วนตัว
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ยา orlistat เป็นยาที่ไปยับยั้งเอนไซม์ lipase ทำให้ไขมันจากสิ่งที่เรารับประทาน ดูดซึมได้ลดลง กลไกการออกฤทธิ์ของยา orlistat ส่งผลข้างเคียง ดังนี้ - มีน้ำมันปนออกมากับอุจจาระ - อยากถ่ายอุจจาระบ่อยครั้งกว่าปกติ - ควบคุมการขับถ่ายลำบาก - ปวดมวน ไม่สบายท้อง และมีการผายลมบ่อย - ส่งผลให้วิตามินชนิดที่ละลายในไขมันถูกดูดซึมลดลง อ้างอิง: อย.
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
อาหารปลอม คืออะไร? พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 27: อาหารปลอม หมายถึง ๑. อาหารที่ได้สับเปลี่ยนใช้วัตถุอื่นแทนบางส่วน หรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณค่าออกเสียทั้งหมดหรือบางส่วน และจำหน่ายเป็นอาหารแท้อย่างนั้น หรือใช้ชื่ออาหารแท้นั้น ๒. วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอย่างหนึ่งอย่างใดและจำหน่ายอาหารแท้อย่างนั้น ๓. อาหารที่ได้ผสมหรือปรุงแต่งด้วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้นความชำรุด บกพร่อง หรือด้อยคุณภาพของอาหารนั้น ๔. อาหารที่มีฉลากเพื่อลวง หรือพยายามลวงผู้ซื้อให้เข้าใจผิดในเรื่องคุณภาพ ประมาณ ประโยชน์ หรือลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต ๕. อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๖(๒) หรือ (๓) ถึงขนาดของผลการวิเคราะห์ปรากฏว่าส่วนประกอบที่เป็นคุณค่าทางอาหารขาดหรือเกินร้อยละสามสิบจากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด หรือแตกต่างจากคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้จนทำให้เกิดโทษหรืออันตราย อ้างอิง: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา https://www.sme.go.th/upload/mod_download/cd08-20-9999-update.pdf
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 0 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิม คือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษา และควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิม คือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษา และควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว