รายการความเห็น


12605 ความเห็น

💬 มีความเห็นส่วนตัว
Ad.tar
เนื้อหานี้ มีข้อมูลที่เป็นความเห็นส่วนตัว
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ยา orlistat เป็นยาที่ไปยับยั้งเอนไซม์ lipase ทำให้ไขมันจากสิ่งที่เรารับประทาน ดูดซึมได้ลดลง กลไกการออกฤทธิ์ของยา orlistat ส่งผลข้างเคียง ดังนี้ - มีน้ำมันปนออกมากับอุจจาระ - อยากถ่ายอุจจาระบ่อยครั้งกว่าปกติ - ควบคุมการขับถ่ายลำบาก - ปวดมวน ไม่สบายท้อง และมีการผายลมบ่อย - ส่งผลให้วิตามินชนิดที่ละลายในไขมันถูกดูดซึมลดลง อ้างอิง: อย.
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
อาหารปลอม คืออะไร? พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มาตรา 27: อาหารปลอม หมายถึง ๑. อาหารที่ได้สับเปลี่ยนใช้วัตถุอื่นแทนบางส่วน หรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณค่าออกเสียทั้งหมดหรือบางส่วน และจำหน่ายเป็นอาหารแท้อย่างนั้น หรือใช้ชื่ออาหารแท้นั้น ๒. วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอย่างหนึ่งอย่างใดและจำหน่ายอาหารแท้อย่างนั้น ๓. อาหารที่ได้ผสมหรือปรุงแต่งด้วยวิธีใดๆ โดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้นความชำรุด บกพร่อง หรือด้อยคุณภาพของอาหารนั้น ๔. อาหารที่มีฉลากเพื่อลวง หรือพยายามลวงผู้ซื้อให้เข้าใจผิดในเรื่องคุณภาพ ประมาณ ประโยชน์ หรือลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต ๕. อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา ๖(๒) หรือ (๓) ถึงขนาดของผลการวิเคราะห์ปรากฏว่าส่วนประกอบที่เป็นคุณค่าทางอาหารขาดหรือเกินร้อยละสามสิบจากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด หรือแตกต่างจากคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้จนทำให้เกิดโทษหรืออันตราย อ้างอิง: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา https://www.sme.go.th/upload/mod_download/cd08-20-9999-update.pdf
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 0 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อ จากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีน จึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิมคือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาและควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิม คือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษา และควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ไซบูทรามีน (Sibutramine) เดิม คือยาที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษา และควบคุมโรคอ้วน สำหรับผู้ที่มีปัญหาน้ำหนักเกิน โดยจัดเป็นยาควบคุมพิเศษ ซึ่งต้องใช้ใบสั่งแพทย์ในการซื้อจากร้านขายยาเท่านั้น มีการทดลองทางคลินิกพบว่า ยาไซบูทรามีน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยาไซบูทรามีนจึงได้ถูกเพิกถอนทะเบียนและถอนยานี้ออกจากตลาด เพราะผลข้างเคียงจากยานั้นอันตราย ไม่คุ้มกับความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยผลข้างเคียงจากไซบูทรามีนมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น - ปากแห้ง - คลื่นไส้ - ท้องผูก - สับสน - อ่อนแรง - เหงื่อออก - ปวดหัว - ใจสั่น - หัวใจเต้นเร็ว - นอนไม่หลับ - วิตกกังวล - การรับรู้รสเปลี่ยนไป - หลอดเลือดขยาย - ความดันโลหิตสูง - เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
หลังดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสภิติจากโรงพยาบาลและคลินิกทั่วประเทศจีน ฝรั่งเศษ เยอรมนี อิตาลี อิหร่าน เกาหลีใต้ สเปน สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาราจักร และสหรัฐฯ ทีมวิจัย ค้นพบความเกี่ยวพันที่ชัดเจนระหว่างระดับวิตตามินดี และพายุไซโตไคน์
ใช้ใน 0 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
ข้อมูลตรงกับเว็บ อย. SD Dietary Supplement Product เลขสารบบ 13-1-22459-5-0004
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
naruemonjoy
SD Dietary Supplement Product เลขสารบบ 13-1-22459-5-0004
ใช้ใน 0 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
อธิบดีกรมอนามัย ชี้ ผู้ป่วยสวมหน้ากากแบบวาล์ว ไอ จาม มีโอกาสที่เชื้อโรคจะพุ่งออกมาได้ แนะนำให้ใส่หน้ากากทางการแพทย์ดีที่สุด พญ.พรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยถึงข้อเท็จจริงของหน้ากากอนามัย ชนิดที่มีวาล์ว ที่มีกระแสในโลกออนไลน์ว่า หากคนที่มีเชื้อไวรัสไอหรือจาม จะทำให้เชื้อพุ่งออกมาจากหน้ากาก เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อได้
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
กระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยตาราง เปิดเทอม-ปิดเทอม ทั้ง 2 ภาคเรียนปีการศึกษา 2563 ณัฏฐพล เผย มีเวลาให้พักระหว่างเทอมรวม 54 วัน ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.) ได้เปิดเผยแนวทางการ เปิดเทอม – ปิดเทอม หรือ เปิดภาคเรียนประจำปีการศึกษาปี พ.ศ. 2563 ในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยพบว่ามีการเพิ่มเวลาพัก 54 วัน ในระหว่างภาคเรียน ภาคเรียนที่ 1/2563 ระยะเวลาเปิดภาคเรียน วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 – 13 พฤศจิกายน 2563 จำนวนวันเรียน 93 วัน จำนวนวันปิดภาคเรียน 17 วัน (14-30 พฤศจิกายน 2563) ภาคเรียนที่ 2/2563 ระยะเวลาเปิดภาคเรียน วันที่ 1 ธันวาคม 2563 – 9 เมษายน 2564 จำนวนวันเรียน 88 วัน จำนวนวันปิดภาคเรียน 37 วัน (10 เมษายน 2564 – 16 พฤษภาคม 2564)
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว
✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด
Ad.tar
ศูนย์วิจัยคลินิกศิริราชเดินหน้าวิจัย"ยาคลอโรควิน" เพื่อรักษาโควิด-19 เปิดรับอาสาสมัครเพื่อทดลองยาแล้ว 400 คน ศูนย์วิจัยคลินิก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล หรือ SICRES (Siriraj Institute of Clinical Research) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับงานวิจัยทางคลินิก เผยพบหลักฐานว่า ยาคลอโรควิน (chlorquine) ซึ่งเป็นยารักษามาลาเรียเป็นหนึ่งในตัวยาที่ถูกนำมาปรับใช้ในการรักษาโรคโควิด-19 โดยพบว่า ยาคลอโรควินสามารถยับยั้งเชื้อไวรัสได้ และมีการศึกษาเบื้องต้นยืนยันประสิทธิภาพในคน ล่าสุด ศูนย์วิจัยคลินิกศิริราชจึงได้จัดตั้งโครงการวางแผนวิจัย เพื่อนำยาคลอโรควินมาทดลองในมนุษย์ และขณะนี้ได้เปิดรับอาสาสมัคร ซึ่งเป็นผู้อาศัยร่วมบ้านกับผู้ป่วยโควิดแล้ว จำนวน 400 คน คาดว่า จะใช้เวลา 1 เดือน
ใช้ใน 1 ข้อความ5 ปีที่แล้ว