2210 ข้อความ
- 1 คนสงสัยการตากแดดจะสามารถป้องกันมะเร็งได้ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเรื่องการตากแดดจะสามารถป้องกันมะเร็งได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าข้อมูลดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จstd48461• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่อสำอางเกินจริงการออกอากาศรายการที่มีเนื้อหาสาระในลักษณะจูงใจ โดยหลอกลวง หรือกระทำให้เกิดความเข้าใจผิด โดยการใช้หรืออ้างอิงรายงานทงวิชาการสถิติ หรือข้อมูลอันไม่เป็นความจริง •ลดการอักเสบของผิวหนัง ▪ช่วยลดสิวฝ้าในทันที ▪เพิ่มขนาดหน้าอกให้ใหญ่ขึ้น ▪ทำให้ผิวกลบมาเต่งตึง ▪สวยเพรียวstd48070• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยตำรับยาสมุนไพรรักษาโรคมะเร็งปอดจริงไหมทางสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่ายังไม่มีหลักฐานงานวิจัยทางคลินิกที่ยืนยันแน่ชัดว่าสมุนไพรตามที่กล่าวอ้างช่วยรักษาโรคมะเร็งปอดในมนุษย์ได้ โดยจากผลการศึกษาวิจัยระดับเซลล์ในห้องปฏิบัติการพบว่าอาหารในกลุ่มพืชผักสมุนไพรอุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ ใยอาหาร และสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิด เช่น สารไตรเทอร์ปีนอยด์ สารฟีนอลิกส์ สารฟลาโวนอยด์ และสารต้านอนุมูลอิสระอื่น ๆ สารต้านอนุมูลอิสระอาจมีส่วนในการยับยั้งเซลล์มะเร็งในหลอดทดลอง แต่ผลดังกล่าวเป็นเพียงงานวิจัยเบื้องต้นเท่านั้นมะเร็งยาสมุนไพรJiwon Cht• 2 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัย💥#ข่าวด่วนที่สุด‼️😱😱😱💢 เดือนหน้า (พฤษภาคม) สหประชาชาติจะประชุมกันเพื่ออัปเดต สนธิสัญญาระหว่างทุกประเทศ และ WHO เรื่องการมีอำนาจเพียงผู้เดียวในการจัดการโรคระบาด ที่จะทำให้ WHO (บิล เกตส์) สามารถออกคำสั่งให้ประเทศต่างๆ ทำสิ่งเขาสั่ง โดยไม่ต้องผ่านรัฐสภาของแต่ละประเทศ (Centralization of Power) แปลว่าอะไร? แปลว่าถ้าเขาสั่งต้อง ล็อกดาวน์ หรือ ฉีดยา (ฉีดยา) ทุกคนต้องฉีดไม่ว่ากฎหมายของแต่ละประเทศจะเป็นอย่างไรก็ตาม คำสั่งนี้จะเหนือกฏหมายของทุกประเทศ https://fb.watch/kdacOwikG1/ ถ้าทุกท่านคิดว่าเกมส์การบังคับฉีดจบแล้ว หรือ จะไม่มีล้อกดาวน์อีก ... ท่านอาจต้องคิดใหม่ครับ ภายในปีนี้ ปีหน้า เราจะมี Climate ล็อกดาวน์ โรคระบาดล็อกดาวน์ และ บังคับฉีดยาอีก https://youtu.be/Zkk3MAH4koA _____ ลงนามหยุดสนธิสัญญา WHO จากการมีอำนาจเพียงผู้เดียวในการจัดการโรคระบาด https://forms.gle/HzwJjXAXn9WBCoCW8ข่าวการเมืองโควิด 2019วัคซีนโควิดผู้บริโภคเฝ้าระวังไม่ระบุชื่อ• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยประกาศแล้ว! คำพิพากษาจําคุก 'แม้ว' 5 ปี คดีหุ้นชินคอร์ป https://www.thaipost.net/main/detail/89849ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจีนทดลองวัคซีนโควิดในลิง ได้ผลทีมวิจัย บริษัท ซิโนวัค ไบโอเทค บริษัทเอกชนของจีน ในกรุงปักกิ่งประเทศจีน ประสบความสำเร็จในการใช้วัคซีนทดลองกับลิง โดยการทดลองได้ทำกับลิงไม่กี่ตัวแต่ผลที่ได้ก็สร้างความมั่นใจเป็นอย่างสูงว่าวัคซีนนี้จะใช้ทดลองกับมนุษย์ได้ผลดีโควิด 2019anonymous• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 2 คนสงสัยจริงหรือไม่ที่นักวิจัยจีนค้นพบว่าเชื้อไวรัสโรค COVID 19 ออกมาจากห้องทดลอง ออกแบบมาให้รักษายาก?เพจที่แชร์กันมานั้น คือ Mtoday.co.th เป็นเพจข่าวปลอม ไม่น่าเชื่อถือ อ้างอิง: เฟสบุค: อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์โควิด 2019naruemonjoy• 5 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเลิกเชื่อข่าวเท็จ "ฟอกเลือด" ไม่ช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ ยืนยันหลอดเลือดสมองตีบไม่สามารถรักษาด้วยการฟอกเลือด การกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคจะลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ จากกรณีการแชร์ข้อมูลหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ เพราะไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่บอกว่าการฟอกเลือด และการกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคได้std47971• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการหลงเชื่อข่าวปลอมเกี่ยวกับอายุหรือไม่ระหว่างการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ข่าวปลอมกลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้งหนึ่งแต่ด้วยประเด็นที่แตกต่างออกไปจากช่วงหลายเดือนที่ผ่านมาซึ่งข่าวปลอมส่วนใหญ่โฟกัสอยู่ที่เรื่องการระบาดของโรคโควิด-19 ส่วนในระหว่างการเลือกตั้งที่สหรัฐอเมริกาข่าวปลอมโฟกัสที่เรื่องการเมืองเป็นหลัก แต่เราปฏิเสธไม่ได้ว่า การเมืองมีผลต่อการควบคุมการระบาดของโรคและการระบาดของโรคก็มีผลต่อการเมืองเช่นกันstd48064• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกลโกงบนออนไลน์หลอกลวงเข้าเว็บไซต์ใส่ข้อมูลละแฮ็คเอาบัญชีธนาคารstd47712• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มมะรุมดงหลวง ตัวช่วยลดน้ำหนัก ความดัน-คอเลสเตอรอล-เบาหวาน ล้างไขมันอุดตันกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ออกโรงเตือนประชาชนระวังข่าวปลอม ด้านผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ล่าสุดพบประชาชนให้ความสนใจผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มมะรุมดงหลวง ช่วยลดน้ำหนัก ลดความดัน ลดคอเลสเตอรอล ลดพุง ลดเบาหวาน ล้างไขมันอุดตัน ขึ้นแท่นข่าวปลอมที่คนไทยสนใจสูงสุด รองลงมา น้ำสกัดย่านาง ใบเตย รากหญ้าคา ตราประสมบุญ ต้านมะเร็ง ช่วยรักษาแผล ในกระเพาะอาหาร ลดความดันสูง ย้ำ! ต้องมีสติ ศึกษาข้อมูลและแหล่งที่มาให้น่าเชื่อถือ วอนอย่าแชร์ต่อ logo-heading HOME NEWS HOT ISSUE เลือกตั้ง 2566 อนาคตประเทศไทย ดีอีเอส เผย เฟคนิวส์ รอบสัปดาห์ ประชาชนแห่สนใจข่าวปลอมเครื่องดื่มลดน้ำหนัก 27 May 2023 ดีอีเอส เผย เฟคนิวส์ รอบสัปดาห์ ประชาชนแห่สนใจข่าวปลอมเครื่องดื่มลดน้ำหนัก ดีอีเอส เผยสถิติเฟคนิวส์รายสัปดาห์ ประชาชนแห่สนใจข่าวปลอม ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มมะรุมดงหลวง ตัวช่วยลดน้ำหนัก ความดัน-คอเลสเตอรอล-เบาหวาน ล้างไขมันอุดตัน เตือนอย่าแชร์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ออกโรงเตือนประชาชนระวังข่าวปลอม ด้านผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ล่าสุดพบประชาชนให้ความสนใจผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มมะรุมดงหลวง ช่วยลดน้ำหนัก ลดความดัน ลดคอเลสเตอรอล ลดพุง ลดเบาหวาน ล้างไขมันอุดตัน ขึ้นแท่นข่าวปลอมที่คนไทยสนใจสูงสุด รองลงมา น้ำสกัดย่านาง ใบเตย รากหญ้าคา ตราประสมบุญ ต้านมะเร็ง ช่วยรักษาแผล ในกระเพาะอาหาร ลดความดันสูง ย้ำ! ต้องมีสติ ศึกษาข้อมูลและแหล่งที่มาให้น่าเชื่อถือ วอนอย่าแชร์ต่อ ดร.เวทางค์ พ่วงทรัพย์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และโฆษกกระทรวงฯ ฝ่ายข้าราชการประจำ สรุปผลการมอนิเตอร์ข่าวปลอมประจำสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 19 – 25 พฤษภาคม 2566 โดยศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม พบข้อความที่เข้ามาทั้งหมด 3,173,017 ข้อความ โดยมีข้อความที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ (Verify) ทั้งสิ้น 272 ข้อความ ทั้งนี้ช่องทางที่มีการพบเบาะแสมากที่สุด คือ ข้อความที่มาจาก Social listening จำนวน 230 ข้อความ ตามมาด้วยการแจ้งเบาะแสผ่าน Line Official จำนวน 42 ข้อความ รวมเรื่องที่ต้องดำเนินการตรวจสอบทั้งหมด 179 เรื่อง และจากการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับผลการตรวจสอบกลับมาแล้ว 116 เรื่องยาสมุนไพรลดความอ้วนstd48349• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสไปด์เดอร์เเมนโดนเเมงมุมกัดเเล้วพ้นใยได้จริงหรอสไปด์เดอร์เเมนโดนเเมงมุมกัดเเล้วพันใยได้มีมstd47886• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเสียชีวิตหลังฉีดวัคซีนโควิดจริงหรือเปล่าคะไทยฉีดวัคซีนกว่า 10 ล้านโดส มีเหตุเสียชีวิต 210 ราย สรุปผลแล้ว 153 รายไม่มีเกี่ยวข้องวัคซีน แต่ 8 รายไม่สามารถสรุปได้ว่าเกี่ยวข้องกับวัคซีนหรือไม่ อีก 4 รายไม่ทราบจริงๆเพราะข้อมูลไม่พอโควิด 2019Thanaphon kummoonta• 4 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยจริงหรือ หน้ากากผ้า ป้องกันไวรัสโควิด-19 ไม่ได้หน้ากากอนามัยผ้าป้องกันโควิด-19ได้จริงหรือไม่? คงเป็นคำถามที่ใครหลาย ๆ คนอยากได้คำตอบ เนื่องจากในสถานการณ์ตอนนี้ ที่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ขาดตลาด และคนหันมาใช้หน้ากากอนามัยแบบผ้าแทน จึงอาจเกิดความกังวลใจว่า หน้ากากอนามัยชนิดผ้า หรือ หน้ากากผ้า จะสามารถป้องกันโควิด-19ได้จริงไหม วันนี้ ALLWELL จะมาไขข้อข้องใจนี้ ให้กับทุกคนค่ะ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ชี้แจงในเรื่องนี้ว่าหน้ากากผ้าสามารถป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้ และแนะนำให้เป็นทางเลือกสำหรับประชาชนที่ไม่ป่วย และมีความเสี่ยงของการติดเชื้อน้อยกว่าบุคลากรทางการแพทย์ แต่ทั้งนี้ผ้าที่นำมาเย็บเป็นหน้ากากผ้า จะสามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19ได้นั้น จะต้องมีคุณสมบัติสำคัญดังนี้ ป้องกันอนุภาคขนาดเล็กได้ ป้องกันการซึมผ่านของน้ำได้ สามารถนำไปซักทำความสะอาดได้หลายครั้งโควิด 2019pyu9• 4 ปีที่แล้วmeter: middle2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยหน้ากากผ้ากันโควิดได้จริงไหมอยากรู้โควิด 2019Kittitat Nct• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยทักษิณ วิดีโอคอลมาที่จ.อุบลราชธานี จริงหรือไม่มีสื่อเสนอข่าวว่า ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้วิดีโอคอลมาที่จ.อุบลราชธานี และกล่าวว่าจะกลับเมืองไทยเร็ว ๆ นี้ จริงหรือไม่ข่าวการเมืองภาคอีสานสุชัย เจริญมุขยนันท• 2 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจจริงหรือทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจได้teeraphat13281• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจตามที่มีการแชร์ข้อมูลเรื่องทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีมีคลิปวิดีโอถูกเผยแพร่ในสื่อออนไลน์เกี่ยวกับทานไฟเบอร์ก่อนทานไข่และชีส ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ ทางสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ไฟเบอร์ หรือเส้นใยอาหาร (dietary fiber) คือ คาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายไม่สามารถย่อยสลาย หรือดูดซึมได้ แบ่งได้ 2 ประเภทคือ ชนิดที่ละลายน้ำได้และชนิดที่ไม่ละลายน้ำ มีประโยชน์ต่อร่างกายช่วยลดการดูดซึมน้ำตาล และคอเลสเตอรอลที่ลำไส้ พบมากในผัก ผลไม้ ถั่ว ซีเรียล ธัญพืชเช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวโพดผู้บริโภคเฝ้าระวังchutikarn222549• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยดื่มฉี่รักษาโรค?มีการแชร์ว่าการดื่มปัสสาวะช่วยให้รักษาโรคได้ยาสมุนไพรstd48335• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยดื่มฉี่รักษาโรค?มีการแชร์ว่าการดื่มปัสสาวะข่วยให้รักษาโรคได้std48335• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโควิด???slayergunshot• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย.ขยายเครือข่ายภาคประชาชน “รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน กับข่าวลวง”อย. ผนึกกำลังคณะทำงานภาคประชาชน สร้างเครือข่าย “ รู้ให้เท่า ก้าวให้ทัน กับข่าวลวง (Fake News) บนโลกออนไลน์ หลังพบข่าวลวงบนโซเชียลฯ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพศุภาพิชญ์ จันทร์ภูญา• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยดื่มฉี่รักษาโรคดื่มฉี่แล้วสุขภาพดีหายจากโรคต่างๆได้std47777• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกินปัสสาวะกินปัสสาวะช่วยรักษาโรคstd47677• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยหนังกลางแปลงกรุงเทพใช้งบเปลืองถึง 160 ล้านบาท มีข้อเท็จจริงอย่างไรกันแน่สุดท้ายแล้วเป็นการสนับสนุนของสปอนเซอร์ใจดี อัศวินภาพยนตร์ ที่บอกว่า มาด้วยใจเพื่อให้ธุรกิจหนังกลางแปลงได้กลับฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง โดยมีจอใหญ่กว่าในโรงเสียอีก อาจจะมีค่าใช้จ่ายด้านค่าแรงให้เอกชนบ้างเท่านั้น..Loet Chaikham• 3 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ