2435 ข้อความ
- 2 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใดphaisal9123• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเลิกเชื่อข่าวเท็จ "ฟอกเลือด" ไม่ช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบจากกรณีการแชร์ข้อมูลหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ เพราะไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่บอกว่าการฟอกเลือด และการกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคได้std46434• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยฟอกเลือดช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบหรือขาดเลือดประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ส่วนหลอดเลือดสมองแตก จะพบประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่หลอดเลือดสมองแตกที่เจอ มักจะมาจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นหลัก หากผู้ป่วยคุมความดันโลหิตไม่ได้ ความดันโลหิตสูงมาก ๆ จะเกิดหลอดเลือดในสมองแตกได้ ทำให้มีเลือดออกในสมอง ซึ่งโรคหลอดเลือดสมองตีบจะมีอาการแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีกข้างใดข้างหนึ่ง พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มองเห็นไม่ชัด โดยเป็นทันทีทันใด เช่น หลอดเลือดสมองตีบทางด้านซ้าย คนไข้จะอ่อนแรงด้านขวา ร่วมกับอาการปากเบี้ยวทางด้านขวา อาจมีเรื่องความรู้สึกลดลง เกิดความชา ฝั่งตรงข้ามของรอยโรคในสมอง บางคนมองเห็นภาพซ้อน สายตาแคบลง มองไม่เห็นฝั่งใดฝั่งหนึ่ง ถ้าเป็นมากจะหมดสติร่วมด้วย บางรายจะสื่อสารไม่ได้ พูดไม่ออก ฟังคำถามแล้วไม่เข้าใจ ทำตามสั่งไม่ได้ นอกจากนี้ ยังมีหลอดเลือดสมองด้านหลังบริเวณท้ายทอยจะเป็นแกนกลาง เรียกว่า ก้านสมอง บางครั้งก็มีหลอดเลือดเส้นเล็กอุดตันได้เช่นกัน แต่หากเป็นหลอดเลือดเส้นใหญ่จะอ่อนแรงทั้งสองข้าง และอาจหมดสติได้ ผู้คนจึงคิดว่าการฟอกเลือดช่วยรักษาโรคหลอดเลือดในสมองตีบได้std46428• 2 ปีที่แล้ว
- 5 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มทำให้ดั้งโด่งผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันความสวยความงามภาคใต้std46493• 2 ปีที่แล้ว
- 6 คนสงสัยครีมทาตัวใช้แล้วขาวภายใน 7 วันกรณีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มที่ระบุสรรพคุณว่า หากทาสามารถช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน นั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่าไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นเพียงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ภายนอกเพื่อทำความสะอาด สวยงามแต่งกลิ่นหอมเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้ความสวยความงามNutnichx Thxithes• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกินอาหารเสริมอาหารเสริมจำเป็นต้องกินเป็นประจำจริงไหมstd47677• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เนื่องจากครีมหรือเซรั่มเป็นเพียงผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ภายนอกเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้std48453• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงมีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงManeewan Rotmala• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้นketsuda070449• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันกรณีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มที่ระบุสรรพคุณว่า หากทาสามารถช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน นั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่าไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริงความสวยความงามstd48012• 2 ปีที่แล้ว
- 6 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้นวัคซีนโควิดstd48064• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd46620• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเซรั่มที่ทำให้ดั้งโด่งภายใน7วันใช้แล้วทำให้ดั้งโด่งภายใน7วันความสวยความงามstd48135• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยhttps://today.line.me/th/v2/article/nXYkjRqไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้ว
- 10 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จวัคซีนโควิดชุมพล ศรีสมบัติ• 3 ปีที่แล้วmeter: middle2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโฆษกรัฐบาล" เตือน ปชช. อย่าหลงเชื่อ มิจฉาชีพ อ้าง "คนละครึ่ง" เฟส4 ล้วงข้อมูล ดูดเงินจากบัญชี ย้ำ อย่าให้ข้อมูลสำคัญ กับบุคคลอื่น หรือในออนไลน์"โฆษกรัฐบาล" เตือน ปชช. อย่าหลงเชื่อ มิจฉาชีพ อ้าง "คนละครึ่ง" เฟส4 ล้วงข้อมูล ดูดเงินจากบัญชี ย้ำ อย่าให้ข้อมูลสำคัญ กับบุคคลอื่น หรือในออนไลน์ผู้บริโภคเฝ้าระวังMrs.Doubt• 3 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยลดน้ำหนักโดยการกินแต่ไข่ต้ม ดีจริงมั้ยกินไข่ต้ม สามารถช่วยเรื่องการลลดน้ำหนักได้ โดยผลการวิจัยจากศูนย์ Rochester Centre for Obesity in America และมหาวิทยาลัยลุยเซียนา ในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ได้ออกมาทำการวิจัยพร้อมเผยว่า กินไข่เป็นอาหารเช้าสามารถช่วย จำกัด ปริมาณแคลอรี่ของคุณตลอดทั้งวัน ได้มากกว่า 400 กิโลแคลอรีลดความอ้วนkana.p93• 4 ปีที่แล้วmeter: mostly-false--middle2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://twitter.com/pnvich/status/1427235960207462402?s=21ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโชว์บิลค่าไฟลงโลกโซเชี่ยล เสี่ยงมิจฉาชีพนำข้อมูลไปใช้จริงหรือจากประเด็นดราม่าค่าไฟแพง ประชาชนตั้งข้อสงสัยบิลค่าไฟรอบเดือนเมษายนว่าแพงกว่าปกติ ทำให้ผู้ใช้ไฟหลายรายได้เปรียบเทียบความต่างของบิลค่าไฟเดือนก่อนกับบิลค่าไฟเดือนล่าสุด อาจเป็นเพราะมาตรการอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ ทำให้มีการใช้ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีชาวเน็ตจำนวนมากโพสต์รูปภาพบิลค่าไฟสู่โลกออนไลน์ ต่อมา เมื่อวันที่ 21 เม.ย. เพจ “กองปราบปราม” ออกมาโพสต์ข้อความเตือนประชาชนสำหรับผู้ที่โพสต์รูปภาพบิลค่าไฟ อาจถูกมิจฉาชีพนำข้อมูลไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมายได้anonymous• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข้อควรระวัง! วิธีเช็ค 'เจลแอลกอฮอล์ปลอม' ต้องทำอย่างถูกวิธีคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ชี้แจงกรณีทดสอบเจลแอลกอฮอล์ด้วยด่างทับทิม ที่แม้สะดวกและรวดเร็ว แต่ยังมีข้อควรระวัง!โควิด 2019Ad.tar• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกรมควบคุมโรคแนะวิธีใช้สารเคมีทำความสะอาดให้เหมาะกับพื้นผิวเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด-19กรมควบคุมโรคบอกวิธีใช้สารเคมีทำความสะอาดให้เหมาะกับพื้นผิว เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด-19 - ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (3% H202) 1 ส่วน ต่อน้ำ 5 ส่วน แต่ต้องระวังการกัดกร่อนพื้นผิว และการสัมผัสของร่างกาย - แอลกอฮอล์ 70% เหมาะสำหรับพื้นผิวโลหะ - ซักฟอกผสมน้ำร้อน 70 องศาเซลเซียส เหมาะสำหรับผ้า น้ำยาฟอกขาว หรือสารโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 1 ส่วน ต่อน้ำ 10 ส่วน เหมาะสำหรับพื้นผิวที่มีละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย สารเคมีบางชนิดไม่แนะนำให้ใช้กับผิวสัมผัสร่างกาย เนื่องจากอาจเกิดอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเข้าดวงตา และการซักเสื้อผ้าด้วยผงซักฟอก ชำระล้างร่างกายด้วยสบู่ แชมพู ก็เป็นการป้องกันแล้ว.โควิด 2019naruemonjoy• 5 ปีที่แล้วmeter: mostly-true--middle3 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://theactive.thaipbs.or.th/read/disaster-data-provinceมีมไม่ระบุชื่อ• 3 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยแอคปลอมFake Social Media Account หรือแอคเคาท์ที่พยายามเลียนแบบ หรือสวมรอยเป็นแบรนด์ค่ะ จะมีวิธีจัดการอย่างไร เพื่อป้องกันไม่ให้แบรนด์เกิดความเสียหายได้บ้างผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมStd48567• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเมื่อวงการวิทยาศาสตร์ผลิตข้อมูลผิดๆ จนทำให้เสียรังวัดเวลาที่มีการเสนอข่าวเกี่ยวกับโควิด-19 ตามแพลตฟอร์มโซเชียลเน็ตเวิร์กต่างๆ มักจะมีผู้ที่มาแสดงความเห็นว่าโควิด-19 ไม่มีอยู่จริง หรือบอกว่าเป็นเรื่องที่รัฐบาลหรือสื่อกุขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนกลัว ความเชื่อผิดๆ แบบนี้ไม่ได้มีเฉพาะคนทั่วไป แต่ยังลามไปถึงระดับปัญญาชนstd48063• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเลือดเป็นด่างมีโอกาสติดโควิด-19 ได้น้อยลงยังมีการแชร์ข้อมูลน้ำมะนาวผสมโซดา แต่คราวนี้ผสมน้ำส้มสายชูไปด้วยโดยอ้างว่าสูตรนี้ฆ่าไวรัสโควิด-19 ได้แน่นอน เพราะจะไปทำลายไวรัสที่พบในลำคอโควิด 2019std46448• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ