2435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อstd48066• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอันตราย! ลัทธิกินอุจจาระ- ปัสสาวะรักษาโรค ส่งผลเสียสุขภาพกาย และจิตใจเข้าขั้นงมงายร่วมหลงผิดกรณีลัทธิประหลาดกินปัสสาวะ - อุจจาระ รักษาโรค ว่า เรื่องนี้ขอตอบในหลักวิทยาศาสตร์ว่า ปกติในอุจจาระปัสสาวะร่างกายของคนเรา เป็นของเสียที่ถูกขับออกมา ในอุจจาระ มีเชื้อโรค แบคทีเรีย มีพยาธิ เชื้อรา แม้ปัสสาวะ จะเป็นผ่านการกรองจากร่างกาย แต่ก็ไม่สมควรรับประทานอยู่ดี ปกติคนที่มีโรค หรือ มีการติดเชื้อทางเดินทางอาหาร การรับประทานอุจจาระก็สามารถได้รับเชื้อโรคจากอุจจาระได้ อย่างไรก็ตาม สำหรับคนที่รับประทานทั้งอุจจาระ และ ปัสสาวะ เสมหะ หรือ หนองเข้าไปแล้วรู้ผิดปกติ ก็ควรรีบไปพบแพทย์ทันที เพื่อรับการตรวจ เพราะเป็นสิ่งที่ไม่สมควรบริโภคstd47611• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงเนื่องจากพบเว็บไซต์ที่บอกว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสต้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงใครที่ฉีดวัคซีนแอสต้า ให้เฝ้าระวังตนเอง เพราะ มีความเสี่ยงที่ตะเป็นโรคฝีดาษลิงstd46766• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทาstd48924• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิง และเชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิดโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะรวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอstd46538• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันมีการโฆษณาทางสื่อโซเชียลเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันพี่รหัสน้อง มายจุ้บจุ้บอุ้อิ้หุหิ้• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยนักเลงอ่างทอง ดวลปืนกลางร้านเหล้า เอก วัดจันทร์ฯ โดน 8 นัดไปตายรพ.อ่างทอง เกิดเหตุดวลปืนกลางร้านเหล้าดัง เอก วัดจันทร์ฯ ถูกกระสุน 8 นัด ไปเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ส่วนมือปืนคู่กรณีมีรอยเลือดทิ้งจยย.ไว้เกิดเหตุแล้วขึ้นรถเก๋งหลบหนี พยานเผยได้ยินเสียงถามว่า “ใครมองหน้า” ก่อนมีเสียงปืนดังลั่นstd47885• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จโควิด 2019std47896• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใดphaisal9123• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเลิกเชื่อข่าวเท็จ "ฟอกเลือด" ไม่ช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบจากกรณีการแชร์ข้อมูลหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ เพราะไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ที่บอกว่าการฟอกเลือด และการกระตุ้นการไหลเวียนจะลดการเกิดโรคได้std46434• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยฟอกเลือดช่วยรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหลอดเลือดสมองตีบรักษาด้วยการฟอกเลือด และกระตุ้นการไหลเวียน ช่วยลดการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบหรือขาดเลือดประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ส่วนหลอดเลือดสมองแตก จะพบประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่หลอดเลือดสมองแตกที่เจอ มักจะมาจากโรคความดันโลหิตสูงเป็นหลัก หากผู้ป่วยคุมความดันโลหิตไม่ได้ ความดันโลหิตสูงมาก ๆ จะเกิดหลอดเลือดในสมองแตกได้ ทำให้มีเลือดออกในสมอง ซึ่งโรคหลอดเลือดสมองตีบจะมีอาการแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีกข้างใดข้างหนึ่ง พูดไม่ชัด ปากเบี้ยว มองเห็นไม่ชัด โดยเป็นทันทีทันใด เช่น หลอดเลือดสมองตีบทางด้านซ้าย คนไข้จะอ่อนแรงด้านขวา ร่วมกับอาการปากเบี้ยวทางด้านขวา อาจมีเรื่องความรู้สึกลดลง เกิดความชา ฝั่งตรงข้ามของรอยโรคในสมอง บางคนมองเห็นภาพซ้อน สายตาแคบลง มองไม่เห็นฝั่งใดฝั่งหนึ่ง ถ้าเป็นมากจะหมดสติร่วมด้วย บางรายจะสื่อสารไม่ได้ พูดไม่ออก ฟังคำถามแล้วไม่เข้าใจ ทำตามสั่งไม่ได้ นอกจากนี้ ยังมีหลอดเลือดสมองด้านหลังบริเวณท้ายทอยจะเป็นแกนกลาง เรียกว่า ก้านสมอง บางครั้งก็มีหลอดเลือดเส้นเล็กอุดตันได้เช่นกัน แต่หากเป็นหลอดเลือดเส้นใหญ่จะอ่อนแรงทั้งสองข้าง และอาจหมดสติได้ ผู้คนจึงคิดว่าการฟอกเลือดช่วยรักษาโรคหลอดเลือดในสมองตีบได้std46428• 2 ปีที่แล้ว
- 5 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มทำให้ดั้งโด่งผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันความสวยความงามภาคใต้std46493• 2 ปีที่แล้ว
- 6 คนสงสัยครีมทาตัวใช้แล้วขาวภายใน 7 วันกรณีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มที่ระบุสรรพคุณว่า หากทาสามารถช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน นั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่าไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเป็นเพียงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ภายนอกเพื่อทำความสะอาด สวยงามแต่งกลิ่นหอมเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้ความสวยความงามNutnichx Thxithes• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกินอาหารเสริมอาหารเสริมจำเป็นต้องกินเป็นประจำจริงไหมstd47677• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เนื่องจากครีมหรือเซรั่มเป็นเพียงผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้ภายนอกเท่านั้น ไม่สามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายได้std48453• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงมีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงManeewan Rotmala• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้นketsuda070449• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มช่วยทำให้ดั้งโด่ง ภายใน 7 วันกรณีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีมหรือเซรั่มที่ระบุสรรพคุณว่า หากทาสามารถช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน นั้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่าไม่มีครีมหรือเซรั่มใดที่ทาแล้วจะช่วยทำให้จมูกโด่ง ภายใน 7 วัน ได้จริง เป็นเพียงการกล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริงความสวยความงามstd48012• 2 ปีที่แล้ว
- 6 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้นวัคซีนโควิดstd48064• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงstd46620• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเซรั่มที่ทำให้ดั้งโด่งภายใน7วันใช้แล้วทำให้ดั้งโด่งภายใน7วันความสวยความงามstd48135• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยhttps://today.line.me/th/v2/article/nXYkjRqไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้ว
- 10 คนสงสัยข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงตามที่มีการโพสต์ข้อความเกี่ยวกับประเด็นเรื่องผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จวัคซีนโควิดชุมพล ศรีสมบัติ• 3 ปีที่แล้วmeter: middle2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโฆษกรัฐบาล" เตือน ปชช. อย่าหลงเชื่อ มิจฉาชีพ อ้าง "คนละครึ่ง" เฟส4 ล้วงข้อมูล ดูดเงินจากบัญชี ย้ำ อย่าให้ข้อมูลสำคัญ กับบุคคลอื่น หรือในออนไลน์"โฆษกรัฐบาล" เตือน ปชช. อย่าหลงเชื่อ มิจฉาชีพ อ้าง "คนละครึ่ง" เฟส4 ล้วงข้อมูล ดูดเงินจากบัญชี ย้ำ อย่าให้ข้อมูลสำคัญ กับบุคคลอื่น หรือในออนไลน์ผู้บริโภคเฝ้าระวังMrs.Doubt• 3 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ