2435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยลดน้ำหนักโดยการกินแต่ไข่ต้ม ดีจริงมั้ยกินไข่ต้ม สามารถช่วยเรื่องการลลดน้ำหนักได้ โดยผลการวิจัยจากศูนย์ Rochester Centre for Obesity in America และมหาวิทยาลัยลุยเซียนา ในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ได้ออกมาทำการวิจัยพร้อมเผยว่า กินไข่เป็นอาหารเช้าสามารถช่วย จำกัด ปริมาณแคลอรี่ของคุณตลอดทั้งวัน ได้มากกว่า 400 กิโลแคลอรีลดความอ้วนkana.p93• 4 ปีที่แล้วmeter: mostly-false--middle2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://twitter.com/pnvich/status/1427235960207462402?s=21ไม่ระบุชื่อ• 4 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโชว์บิลค่าไฟลงโลกโซเชี่ยล เสี่ยงมิจฉาชีพนำข้อมูลไปใช้จริงหรือจากประเด็นดราม่าค่าไฟแพง ประชาชนตั้งข้อสงสัยบิลค่าไฟรอบเดือนเมษายนว่าแพงกว่าปกติ ทำให้ผู้ใช้ไฟหลายรายได้เปรียบเทียบความต่างของบิลค่าไฟเดือนก่อนกับบิลค่าไฟเดือนล่าสุด อาจเป็นเพราะมาตรการอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ ทำให้มีการใช้ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีชาวเน็ตจำนวนมากโพสต์รูปภาพบิลค่าไฟสู่โลกออนไลน์ ต่อมา เมื่อวันที่ 21 เม.ย. เพจ “กองปราบปราม” ออกมาโพสต์ข้อความเตือนประชาชนสำหรับผู้ที่โพสต์รูปภาพบิลค่าไฟ อาจถูกมิจฉาชีพนำข้อมูลไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมายได้anonymous• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข้อควรระวัง! วิธีเช็ค 'เจลแอลกอฮอล์ปลอม' ต้องทำอย่างถูกวิธีคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล ชี้แจงกรณีทดสอบเจลแอลกอฮอล์ด้วยด่างทับทิม ที่แม้สะดวกและรวดเร็ว แต่ยังมีข้อควรระวัง!โควิด 2019Ad.tar• 5 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกรมควบคุมโรคแนะวิธีใช้สารเคมีทำความสะอาดให้เหมาะกับพื้นผิวเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด-19กรมควบคุมโรคบอกวิธีใช้สารเคมีทำความสะอาดให้เหมาะกับพื้นผิว เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโควิด-19 - ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (3% H202) 1 ส่วน ต่อน้ำ 5 ส่วน แต่ต้องระวังการกัดกร่อนพื้นผิว และการสัมผัสของร่างกาย - แอลกอฮอล์ 70% เหมาะสำหรับพื้นผิวโลหะ - ซักฟอกผสมน้ำร้อน 70 องศาเซลเซียส เหมาะสำหรับผ้า น้ำยาฟอกขาว หรือสารโซเดียมไฮโปคลอไรด์ 1 ส่วน ต่อน้ำ 10 ส่วน เหมาะสำหรับพื้นผิวที่มีละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย สารเคมีบางชนิดไม่แนะนำให้ใช้กับผิวสัมผัสร่างกาย เนื่องจากอาจเกิดอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเข้าดวงตา และการซักเสื้อผ้าด้วยผงซักฟอก ชำระล้างร่างกายด้วยสบู่ แชมพู ก็เป็นการป้องกันแล้ว.โควิด 2019naruemonjoy• 5 ปีที่แล้วmeter: mostly-true--middle3 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://theactive.thaipbs.or.th/read/disaster-data-provinceมีมไม่ระบุชื่อ• 3 เดือนที่แล้ว
- 1 คนสงสัยแอคปลอมFake Social Media Account หรือแอคเคาท์ที่พยายามเลียนแบบ หรือสวมรอยเป็นแบรนด์ค่ะ จะมีวิธีจัดการอย่างไร เพื่อป้องกันไม่ให้แบรนด์เกิดความเสียหายได้บ้างผู้บริโภคเฝ้าระวังแอคปลอมStd48567• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเมื่อวงการวิทยาศาสตร์ผลิตข้อมูลผิดๆ จนทำให้เสียรังวัดเวลาที่มีการเสนอข่าวเกี่ยวกับโควิด-19 ตามแพลตฟอร์มโซเชียลเน็ตเวิร์กต่างๆ มักจะมีผู้ที่มาแสดงความเห็นว่าโควิด-19 ไม่มีอยู่จริง หรือบอกว่าเป็นเรื่องที่รัฐบาลหรือสื่อกุขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนกลัว ความเชื่อผิดๆ แบบนี้ไม่ได้มีเฉพาะคนทั่วไป แต่ยังลามไปถึงระดับปัญญาชนstd48063• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเลือดเป็นด่างมีโอกาสติดโควิด-19 ได้น้อยลงยังมีการแชร์ข้อมูลน้ำมะนาวผสมโซดา แต่คราวนี้ผสมน้ำส้มสายชูไปด้วยโดยอ้างว่าสูตรนี้ฆ่าไวรัสโควิด-19 ได้แน่นอน เพราะจะไปทำลายไวรัสที่พบในลำคอโควิด 2019std46448• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยเลือดเป็นด่างมีโอกาสติดโควิด-19 ได้น้อยลงเป็นเรื่องที่แชร์กันมากตั้งแต่ ไวรัสโควิด-19 เริ่มระบาดใหม่ ๆ เลยทีเดียว โดยมีการอ้างว่า คนที่กินเจ กินแต่ผักผลไม้ จะทำให้เลือดเป็นด่าง และเชื้อโควิด-19 จะไม่สามารถทำอันตรายใด ๆ ได้sg242728.no• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยาจีนเหลียนฮัวชงเหวินแคปซูลรักษาโควิด-19เหลียนฮัวชิงเวินแคปซูล” ประกอบด้วยตัวยามีทั้งหมด 13 ชนิด โดยมีพื้นฐานเป็นการใช้ยาฤทธิ์เย็นผสมรสเผ็ดและรสขม เพื่อช่วยในการระบายความร้อนและขับพิษออกจากร่างกาย โดยมี เหลียนเชี่ยว 连翘、จินอิ๋นฮวา 金银花 เป็นตัวยาหลักที่ใช้ในการลดไข้ซึ่งเกิดจากพิษร้อน และใช้ร่วมกับ จื้อหมาหวง 炙麻黄、เฉ่าขู่ซิ่งเหริน 炒苦杏仁、สือเกา 石膏 เป็นตัวช่วยในการขับเคลื่อนชี่ของปอด เพื่อเสริมการระบายความร้อนออกสู่ร่างกาย ส่วนยาตัวอื่นๆจะทำหน้าที่เป็นตัวเสริมกลไกดังกล่าวร่วมกับการระบายความชื้นออกจากร่างกายบางส่วนโควิด 2019ยาสมุนไพรstd46640• 2 ปีที่แล้ว
- 7 คนสงสัยยืนตากแดด ฆ่าโควิด-19 ได้หนึ่งในหลายเรื่องเกี่ยวกับการฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่มีการนำมาแชร์ซ้ำก็คือ การยืนตากแดดจะสามารถฆ่าเชื้อได้ ซึ่งทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริง เนื่องจากไม่มีงานวิจัยที่ยืนยันว่าการยืนตากแดดนั้นสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้ เพราะเชื้อไวรัสตระกูลโควิด-19 นั้นสามารถทนทานต่อความร้อนได้ถึง 90 องศา ซึ่งความร้อนจากแสงแดดนั้นมีความร้อนไม่ถึงระดับนี้แน่นอน ทั้งนี้ กรมควบคุมโรคได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ไวรัสชนิดนี้จะตายเมื่อโดนความร้อนที่อุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียส เป็นเวลานานต่อเนื่อง 30 นาที ซึ่งแสงแดดก็ไม่สามารถทำให้เกิดความร้อนในระดับนี้ได้เช่นกันโควิด 2019Surayuth Chaiyo• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยต่อไปนี้ ทุกวันหยุด ขึ้นทางด่วนฟรี นาน 15 ปี จนถึงปี 2578ต่อไปนี้ ทุกวันหยุด ขึ้นทางด่วนฟรี นาน 15 ปี จนถึงปี 2578Mrs.Doubt• 4 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวลวงมีการบอกเนื้อหาที่ไม่เป็นความจริงสุขภาพวัคซีนโควิดstd47953• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยชัชชาติ" แอบแซ่บ "จุฬาลักษณ์" สาวไฮไซ ไฮบริดรายการ “ถอนหมุดข่าว” เผยแพร่ทางแอปพลิเคชั่น SONDHI APP สถานีโทรทัศน์ NEWS1 ช่องยูทูป NEWS1 และเฟซบุ๊กแฟนเพจ NEWS1 วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน 2566 นำเสนอรายงานพิเศษ "ชัชชาติ" แอบแซ่บ "จุฬาลักษณ์" สาวไฮไซ ไฮบริดTunchanok Saetia• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมีกระแสข่าวว่าเชื้อโคโรน่าไวรัสเป็นอาวุธชีวภาพของรัฐบาลจีนหรือไม่ก็สหรัฐเก็บไว้แล้วทำพลาดหลุดออกมา?ทั้งสหรัฐฯ และจีนต่างเคยสนใจที่จะสร้างอาวุธชีวภาพ ด้านสงครามเชื้อโรคโควิด 2019naruemonjoy• 5 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยน้ำดื่มแถมจากปั๊มน้ำมัน อันตรายจริงหรือ ?มีคลิปออกมาให้ข้อมูลว่า น้ำดื่มแถมจากปั๊มน้ำมัน อันตราย ทำให้คนเช็กข่าวตื่นกลัว ไม่กล้าดื่มกัน มันอันตรายจริงไหม เหตุผลคืออะไรสุขภาพสุชัย เจริญมุขยนันท• 1 เดือนที่แล้วmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเรื่องกัญชารักษามะเร็งในอเมริกาShi S และคณะได้ตีพิมพ์งานวิจัยเพื่อประเมินแนวโน้มการแพร่กระจายข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็ง ในวารสารวิชาการทางการแพทย์ Cureus เดือนมกราคม 2019 เค้าวิเคราะห์โดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับการค้นหาข้อมูลโดยใช้ Google trends ตั้งแต่ปี 2011-2018 ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบสิ่งที่น่าสนใจหลายอย่างทีเดียวศุภาพิชญ์ จันทร์ภูญา• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยคุมเข้มโฆษณาไม่ตรงปก ดูเลยคำไหนห้ามใช้ ฝ่าฝืนมีโทษหนักทั้ง ปรับ-จำคุกรองโฆษกรัฐบาล เผย สคบ.คุมเข้มโฆษณาไม่ตรงปก ข้อความเป็นเท็จเกินจริง ดูเลยคำไหนห้ามใช้ ฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1 แสน หรือทั้งจำทั้งปรับ เพื่อความเป็นธรรมสำหรับผู้บริโภคผู้บริโภคเฝ้าระวังstd48375• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยคุมเข้มโฆษณาไม่ตรงปก ดูเลยคำไหนห้ามใช้ ฝ่าฝืนมีโทษหนักทั้ง ปรับ-จำคุกวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า เพื่อให้การโฆษณาสินค้าเป็นธรรมแก่ผู้บริโภค ไม่ใช้คำอวดอ้างสรรพคุณที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ รวมถึงสาระกฎหมายมีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์สื่อที่มีหลายช่องทาง สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) จึงได้ออกประกาศคณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เรื่อง แนวทางการใช้ข้อความโฆษณาที่มีลักษณะเป็นการยืนยันข้อเท็จจริงอันยากแก่การพิสูจน์ และแนวทางการพิสูจน์เพื่อแสดงความจริงเกี่ยวกับข้อความโฆษณา พ.ศ. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 13 ม.ค. 66 ซึ่งมีสาระสำคัญ อาทิ การใช้ข้อความโฆษณาไม่ว่าจะกระทำทางสื่อโฆษณาใดก็ตาม จะต้องมีข้อความเป็นภาษาไทยที่สามารถเห็น ฟัง หรืออ่านได้ชัดเจนตามประเภทของสื่อโฆษณา ไม่ทำให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ถ้าข้อความโฆษณาทำเป็นภาษาต่างประเทศ ต้องมีคำแปลภาษาไทยกำกับข้อความที่เป็นสาระสำคัญด้วยทุกครั้งstd47989• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยข่าวปลอม อย่าแชร์! บ้านปู ร่วมกับ ก.ล.ต. เปิดโอกาสฝากหุ้นระยะยาว ปันผลกำไรมากกว่า 3%ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลบนช่องทางออนไลน์เรื่องบ้านปู ร่วมกับ ก.ล.ต. เปิดโอกาสฝากหุ้นระยะยาว ปันผลกำไรมากกว่า 3% ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พบว่าข้อมูลดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จstd47711• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยครม. ไฟเขียวตั้งศูนย์ปราบข่าวปลอมทุกจังหวัดทั่วประเทศ ป้องยั่วยุทำแตกแยกครม. เห็นชอบร่างระเบียบสำนักนายกฯ ตั้งศูนย์ปราบปรามและแก้ไขปัญหาข่าวปลอม ทั้งส่วนกลาง, กระทรวง และจังหวัด ป้องกันการยั่วยุ สร้างความแตกแยกในสังคม ทำลายภาพลักษณ์ประเทศข่าวการเมืองpotter17652• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัย10 จุดสังเกต สร้างภูมิคุ้มกันรู้ทันข่าวปลอมวันนี้ (6 มี.ค.2566) น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า รัฐบาลห่วงใยประชาชนถูกมิจฉาชีพหลอก ถึงแม้จะมีการประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนอยู่ตลอดเวลา แต่มิจฉาชีพได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบกลโกง ให้มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ทำให้ยังมีประชาชนตกเป็นเหยื่อสูญเสียเงินให้กับมิจฉาชีพ ซึ่งจากรายงานของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่า 70% ของข่าวสารที่แพร่กระจายบนโซเชียลมีเดีย คือ ข่าวปลอม น.ส.รัชดา กล่าวว่า เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้ประชาชนได้รู้ทันข่าวปลอมผ่านสื่อออนไลน์ โดยเฉพาะบนเฟซบุ๊ก ทางกระทรวงดิจิทัลฯ จึงแนะนำให้ประชาชนสังเกตจุดสำคัญ 10 ข้อ ที่มีลักษณะเป็น "ข่าวปลอม"std46629• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยลักษณะข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็งในอเมริกาShi S และคณะได้ตีพิมพ์งานวิจัยเพื่อประเมินแนวโน้มการแพร่กระจายข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็ง ในวารสารวิชาการทางการแพทย์ Cureus เดือนมกราคม 2019 เค้าวิเคราะห์โดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับการค้นหาข้อมูลโดยใช้ Google trends ตั้งแต่ปี 2011-2018 ในประเทศสหรัฐอเมริกาstd47848• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยลักษณะข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็งในอเมริกาShi S และคณะได้ตีพิมพ์งานวิจัยเพื่อประเมินแนวโน้มการแพร่กระจายข่าวลวงเรื่องกัญชารักษามะเร็ง ในวารสารวิชาการทางการแพทย์ Cureus เดือนมกราคม 2019 เค้าวิเคราะห์โดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับการค้นหาข้อมูลโดยใช้ Google trends ตั้งแต่ปี 2011-2018 ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบสิ่งที่น่าสนใจหลายอย่างทีเดียวมะเร็งWorsorkubpom• 2 ปีที่แล้ว

ไม่พบข้อความที่คุณค้นหา
หากคุณสงสัยว่าข้อความที่พบเป็นข่าวลวง ข่าวลือ หรือ ข้อความหลอก ที่ยังไม่พบใน Cofact กรุณาคลิกที่
สร้างข้อความ