13435 ข้อความ
- 1 คนสงสัยรักษา "มะเร็งระยะสุดท้าย" ด้วยการดื่มน้ำปั่นผักจิงจูฉ่ายมีเว็บไซต์ๆหนึ่งบอกว่าผู้ที่เป็นมะเร็งระยะสุดท้ายให้รักษาด้วยการดื่มน้ำปั่นผักจิงจูฉ่ายstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยทาปุ๊บผิวกระจ่างใสปั๊บทาปุ๊บผิวกสั่งใสปรับขนาด 100 กรัมstd47621• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปดิบ จะถูกดูดน้ำย่อยในลำไส้ ทำให้ร่างกายขาดมีเว็บไซต์หนึ่งกล่าวว่ากินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปดิบจะดูดน้ำย่อยในลำไส้ ทำให้เกิดอาการขาดน้ำ จนเกิดภาวะช็อกได้นั้นstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยดื่มฉี่รักษาได้ทุกโรคดื่มฉี่สามารถรักษาโรคได้std47614• 2 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยดื่มน้ำโซดาช่วยทำให้อาหารย่อยได้ง่ายขึ้นเนื่องจากมีเว็บไซต์หนึ่งบอกว่าดื่มน้ำโซดาช่วยทำให้อาหารย่อยได้ง่ายขึ้นstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเรื่องโม้ๆ เกี่ยวกับการแพทย์และวิทยาศาสตร์ว่าด้วยกัญชาเรื่องโม้ๆ เกี่ยวกับการแพทย์และวิทยาศาสตร์ว่าด้วยกัญชา กัญชาเป็นหนึ่งในพืชที่เป็นประเด็นโต้เถียงกันมายาวนาน จึงไม่น่าแปลกใจที่มันจะเป็นต้นเหตุของเรื่องหลอกลวง ตำนานเล่าขานที่ปั่นกันขึ้นมา และข่าวปลอมมากมาย ทั้งหมดล้วนแต่ส่งผลกระทบในด้านใดด้านหนึ่งต่อการรับรู้ของสาธารณชนต่อการใช้กัญชาและสถานะของมัน ต่อไปนี้คือ "เรื่องโม้ๆ" ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และการแพทย์ของกัญชา ที่แพร่หลายในต่างประเทศ (และอาจกระทบต่อทัศนะของคนไทยเราด้วย) 1. เรื่องโกหกเกี่ยวกับบริษัทมอนซานโตตัดแต่งพันธุกรรมกัญชา มีเรื่องหลอกลวงแพร่ทางอินเทอร์เน็ตในปี 2015 โดยอ้างว่าบริษัท Monsanto กำลังสร้างกัญชาดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อจัดหากัญชามากพอป้อนให้กับอุตสาหกรรมกัญชา (1) เรื่องหลอกลวงนี้สร้างขึ้นโดยเว็บไซต์ข่าวปลอมเสียดสี World News Daily Report เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2015 ซึ่ง Monsanto ตอบโต้ด้วยการ "การปฏิเสธแบบหัวชนฝา" ผ่านเว็บ "Myths About Monsanto" ที่คอยแก้ข่าวปลอมและเรื่องโกหกเกี่ยวกับบริษัท ซึ่งมักจะถูกโจมตีว่าทำการตัดแต่งพันธุกรรมเพื่อสนองตอบอุตสาหกรรมเกษตร แม้ว่ามันจะเป็นข่าวปลอม แต่สร้างความตื่นตูมให้กับวงการกัญชาอย่างมาก เช่น เว็บไซต์เกี่ยวกับกัญชา High Times รายงานว่า "นักวิทยาศาสตร์กำลังทำงานเพื่อสร้างแผนที่โครงสร้าง DNA ที่สมบูรณ์ของต้นกัญชา เพื่อป้องกันบริษัทเมล็ดพันธุ์ทางการเกษตรรายใหญ่ เช่น Monsanto จากการได้รับสิทธิบัตรเฉพาะสำหรับสายพันธุ์เฉพาะ" (2) สะท้อนว่า แม้จะเป็นข่าวปลอม แต่ "ชื่อเสียง" ของบริษัท Monsanto ทำให้เกิดความกังวลว่ากัญชาอาจถูกรวบหัวรวบหางโดยอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อผูกขาดสายพันธุ์และผูกขาดการผลิต เพราะมันกำลังเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างเงินมหาศาลยาสมุนไพรPongpat• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัย2 อาทิตย์ลง 12 โลสะเทือนวงการลดน้ำหนักเจ้าแรกเจ้าเดียวในประเทศไทยชงดื่มลดสัดส่วนแขนขาหน้าท้องภายในสองอาทิตย์ลดลง 12 โลstd47621• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิงกรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อ เมื่อคนรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะมีระยะฟักตัวประมาณ 7-14 วัน อาจนานถึง 21 วัน โดยอาการเริ่มแรกจะมีไข้ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ต่อมน้ำเหลืองโต หนาวสั่น อ่อนเพลีย จากนั้นประมาณ 1-3 วัน จะมีผื่นขึ้นบริเวณแขนขา และอาจจะเกิดบนหน้าและลำตัวได้ด้วย ผื่นจะกลายเป็นตุ่มหนอง ในระยะสุดท้ายตุ่มหนองจะเป็นสะเก็ดแล้วหลุดออกมา อาการป่วยจะประมาณ 2-4 สัปดาห์ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากโรคเองได้ในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคฝีดาษลิงที่เฉพาะเจาะจง แต่สามารถควบคุมการระบาดได้ด้วย การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ ซึ่งสามารถป้องกันโรคฝีดาษลิงได้ 85%วัคซีนโควิดPongpat• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมทาจมูกโด่งเนื่องจากเว็บไซต์ๆหนึ่งบอกว่าทาครีมชนิดหนึ่งจะช่วยให้จมูกโด่งขึ้นstd47615• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสธ.เตือนอย่าหลงเชื่อ!! กลุ่มมิจฉาชีพ "แชร์ลิงก์เว็บไซต์ปลอม" อ้างให้เงินช่วยโควิด ลวงเหยื่อกรอกข้อมูลวันนี้ (10 กันยายน 2565) นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ หัวหน้าที่ปรึกษาระดับกระทรวง (นพ.ทรงคุณวุฒิ 11) และโฆษกกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ขณะนี้มีกลุ่มมิจฉาชีพทำเว็บไซต์ปลอมมีโลโก้กระทรวงสาธารณสุข และส่งลิงก์เว็บไซต์ให้ประชาชนทางไลน์และโซเชียลมีเดีย โดยหลอกว่ากระทรวงสาธารณสุขมีกิจกรรมให้เงินช่วยเหลือช่วงโควิด 19 เพื่อให้เหยื่อกรอกข้อมูลสำคัญส่วนตัว ซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลเหล่านี้มักใช้ในการยืนยันตัวตนเพื่อความปลอดภัยในการเข้าใช้ระบบต่างๆ หรือทำธุรกรรมออนไลน์ เมื่อมิจฉาชีพได้ไปอาจถูกนำไปใช้ในเรื่องที่ผิดกฎหมาย ทำให้เราตกเป็นเหยื่อหรือผู้ประสบภัยทางออนไลน์ได้ จึงขอเตือนภัยว่าอย่าหลงเชื่อให้ข้อมูลส่วนตัวอย่างเด็ดขาด ทั้งนี้ ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุขคือการดูแลป้องกันรักษาควบคุมโรค ไม่ได้มีภารกิจเกี่ยวกับเงินช่วยเหลือประชาชน และไม่ได้มีโครงการหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการให้เงินช่วยเหลือโควิด 19 หรือโรคระบาดแต่อย่างใด นพ.รุ่งเรืองกล่าวต่อว่า กลุ่มมิจฉาชีพมีการปรับเปลี่ยนวิธีการใหม่ๆ ตลอดเวลา เพื่อหลอกลวงข้อมูลจากเหยื่อ และมักแอบอ้างหน่วยงานของรัฐ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ จึงขอให้พิจารณาตรวจสอบข้อมูลอย่างถี่ถ้วนก่อนทุกครั้ง หากไม่แน่ใจแนะนำให้สอบถามกับหน่วยงานโดยตรง โดยเว็บไซต์ของกระทรวงสาธารณสุข คือ www.moph.go.th สามารถเข้ามาตรวจสอบข้อมูลภายในเว็บไซต์ทางการได้ ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขจะดำเนินการคดีกลุ่มมิจฉาชีพตามกฏหมายอย่างถึงที่สุดโควิด 2019Pongpat• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยธนาคารกสิกรไทย ประกาศเรื่องด่วนธนาคารกสิกรไทย ส่งข้อความ ประกาศเรื่องด่วนstd47614• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยไร้จริยธรรม“พิธาฟีเวอร์” ไม่ใช่เรื่องประหลาดอันใดของสื่อโทรทัศน์ขณะนี้ ด้วยการนำพรรคก้าวไกลชนะเลือกตั้งครั้งล่าสุด เป็น “ว่าที่นายกรัฐมนตรีคนที่ 30” ของประเทศไทย และอยู่ระหว่างฟอร์มรัฐบาลเพื่อขอมติที่ประชุมรัฐสภา!!ข่าวการเมืองpotter17652• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยลดน้ำตามกรุ๊ปเลือดการลดน้ำหนักตามกรุ๊ปโดนการเลือกทานตามแต่ละกรุ๊ปที่เขาบอกกันความสวยความงามลดความอ้วนผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47926• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยลักษณะพระจันทร์เสี้ยวในเล็บมือสามารถบอกโรคได้. ตามที่มีการบอกต่อข้อความเกี่ยวกับเรื่องลักษณะพระจันทร์เสี้ยวในเล็บมือสามารถบอกโรคได้std47629• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยสารหวานในเครื่องดื่มไร้น้ำตาล เสี่ยงหัวใจวาย อัมพฤกษ์อันตราย! สารหวานในเครื่องดื่มไร้น้ำตาล เสี่ยงหัวใจวาย อัมพฤกษ์ หลายปีแล้วที่เรามีการใช้สารน้ำตาลเทียมเพิ่มหรือแทนความหวานที่ได้จากน้ำตาล เพราะคิดว่าดีต่อสุขภาพลดเสี่ยงโรค ซึ่งวันนี้ องค์การอนามัยโลก ก็ออกมาเตือนเรื่อง กินสารให้ความหวานแทนน้ำตาลเป็นเวลานาน เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานประเภท 2 โรคหัวใจและหลอดเลือด ล่าสุด (28 พ.ค.66) ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊กว่า นับเป็น 10 ปีมาแล้วที่มีการใช้สารน้ำตาลเทียมเพิ่มหรือแทนความหวานที่ได้จากน้ำตาล ทั้งนี้เพื่อตอบสนองกับคนที่มีโรคเบาหวาน โรคอ้วน หรือมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคที่เรียกว่า เมตาบอลิก ซินโดรม (Metabolic syndrome) ที่เป็นกลุ่มอาการที่จะต่อติดต่อเนื่อง ตามกันมา ...จากอ้วน ดื้ออินซูลิน เบาหวาน ไขมันสูง มีภาวะเส้นเลือดผิดปกติและนำไปสู่โรคหัวใจ อัมพฤกษ์ จนกระทั่งถึงมะเร็ง ด้วยการที่มีสารอักเสบก่อตัวในร่างกาย ทุกระบบและในสมอง จนเร่งสมองเสื่อมให้เกิดขึ้นเร็วและรุนแรง และพิสูจน์แล้วว่าเร่งความแก่ชราให้มากขึ้น และสารทดแทนเหล่านี้ ได้มีการรับรองความปลอดภัยจากองค์กรกลางต่างๆ ที่ทำการประเมินและมีการใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก แต่กระนั้น การติดตามภาวะสุขภาพในคนที่ได้รับสารหวานเทียมเหล่านี้ เริ่มมีรายงานออกมามากขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ในปี 2000 เป็นต้นมา ถึงผลที่อาจไม่พึงประสงค์ รวมทั้งแทนที่จะเกิดประโยชน์ กลับมีโรคภัยไข้เจ็บที่ไม่สามารถอธิบายได้ โดยเฉพาะที่เกิดขึ้นกับเส้นเลือดตีบ แต่เนื่องจากเป็นการศึกษาที่ไม่ทอดระยะเวลานานนัก และไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์หรือการเป็นสาเหตุได้ชัดเจน เนื่องจากมีตัวแปรและปัจจัยอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ทำให้ข้อมูลยังมีความคลุมเครืออยู่ รายงานในวารสาร เนเจอร์ 27 กุมภาพันธ์ 2023 เป็นงานต่อเนื่องตั้งแต่การค้นพบความสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ในลำไส้ กับการอักเสบ และเส้นเลือดตันที่รายงานในวารสารนิวอิงแลนด์และเนเจอร์ในปี 2013 ที่ตอกย้ำพิสูจน์ว่าการกินเนื้อแดง และไข่แดงจะเชื่อมโยงกับจุลินทรีย์หรือแบคทีเรียไม่ดีในลำไส้ ที่สกัดและผลิตสารอักเสบออกมาชื่อ TMA และ TMAO ทั้งนี้ การลดการกินเนื้อและไข่แดง โดยที่หนักผัก ผลไม้ กากใย ถั่ว จะระงับการอักเสบดังกล่าว และเริ่มพบว่าสาร polyols ก็มีความสัมพันธ์ร่วม งานในปี 2023 นี้พบว่าสาร erythritol ซึ่งอยู่ในกลุ่ม polyol ทำให้เกล็ดเลือดไวขึ้น จนเพิ่มความเสี่ยงของเส้นเลือดตันstd47629• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยมะนาวกับโซดารักษามะเร็งกินมะนาวกับโซดาสามารถรักษามะเร็งได้มะเร็งstd47926• 2 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยรากเถาวัลย์หนอนตายหยาก รักษามะเร็งได้#แบ่งต้นหนอนตายหยากท่านละ5ต้นออกค่าใช้จ่ายเอง59บาท หนอนตายหยากจ้า สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้ไอเรื้อรัง หลอดลมอักเสบ ขับเสมหะ รักษาโรคภูมิแพ้โดยใช้รากหนอนตายหยากและใบหนุมานประสานกายอย่างละเท่าๆกันมาต้มกับน้ำดื่มขณะที่ยังอุ่นต่างน้ำทุกวันจนกว่าอาการจะหาย ช่วยลดน้ำตาลในเลือดสำหรับโรคเบาหวานและ ยังแก้มะเร็งในกระดูก มะเร็งมดลูก. มะเร็งผิวหนัง มะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและรังไข่ และรักษามะเร็งได้อีกหลายชนิดstd47629• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยกสิกรไทยส่งข้อความประกาศเรื่องด่วนธนาคารกสิกรไทย ส่งข้อความ ประกาศเรื่องด่วน ระวัง sms แนบลิงก์std47629• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยถ่ายภาพในสถานีรถไฟหัวลำโพง ต้องมีใบอนุญาตเท่านั้นจากกรณีที่มีการให้ข้อมูลว่า สถานีรถไฟหัวลำโพงได้ประกาศห้ามถ่ายภาพในสถานี ซึ่งหากจะถ่ายต้องมีใบอนุญาตเท่านั้นstd47629• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยปลุกเสกลูกเทพที่ดังรวมสถานที่คนที่ปลุกเสกลูกเทพเข้มขลังเสียดสีstd47926• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยลูกอมนมโตแค่กินลูกก็สามารถมีหน้าอกที่ใหญ่โตได้ผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47926• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยการเดทกันของ AI ของZeNa MAVE และ ซึง Superkindมีข่าวออกมาว่า ซีนา และ ซึง เดทกัน เนื่องจากคนจิ้นstd47926• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเตือนอย่าหลงเชื่อ เพจ Caixas e mimos ตัดต่อภาพแถลงข่าวของ สปสช.-ใส่ข้อความหลอกลวงประชาชนวันที่ 10 มิถุนายน 2565 ทพ.อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในฐานะโฆษก สปสช. กล่าวว่า ตามที่มีเพจ Facebook ใช้ชื่อ Caixas e mimos ซึ่งอวดอ้างขายสมุนไพรให้กับผู้ป่วยโรคตา โดยได้มีการนำภาพงานแถลงข่าว "แว่นตาสำหรับเด็กสายตาผิดปกติ สิทธิประโยชน์บัตรทอง ของขวัญเพื่อเด็กไทยสายตาดี" ที่จัดโดย สปสช. เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2565 ซึ่งมี นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย นพ.ไชยสิทธิ์ เทพชาตรี รองประธานกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) สาขาตา กระทรวงสาธารณสุข และ ศ.พญ.วณิชา ชื่นกองแก้ว ประธานราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ร่วมแถลงข่าว มาตัดต่อภาพใส่ข้อความและนำมาเผยแพร่ต่อสาธารณะ เพื่อมุ่งหวังขายเพื่อทำให้ประชาชนหลงเชื่อและซื้อผลิตภัณฑ์ สปสช.ขอชี้แจงว่า สปสช. และองค์กรที่ร่วมแถลงข่าวในวันดังกล่าวทั้งหมด ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับการจำหน่ายผลิตภัณฑ์นี้ และในการแถลงข่าวในวันนั้นเป็นเรื่องความร่วมมือเพื่อดูแลเด็กไทยที่มีปัญหาสายตาให้ได้รับแว่นตาภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดังนั้นการกระทำนี้ถือเป็นการกระทำความผิด ซึ่งขณะนี้ สปสช. อยู่ระหว่างดำเนินการทางกฎหมายกับผู้ดำเนินการเพจดังกล่าวแล้ว พร้อมประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์นี้ที่มีการแอบอ้างสรรพคุณเกินจริง “ขอเตือนไปยังประชาชนที่ได้รับข้อมูลจากเพจ Caixas e mimos ขอยืนยันว่า สปสช. ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับเพจดังกล่าวที่มีการแอบอ้างภาพไปใช้จนทำให้เกิดความเสียหายต่อ สปสช. และหน่วยงานที่ร่วมแถลงข่าวครั้งนี้ เป็นการหลอกลวงและทำให้ประชาชนเกิดความเข้าใจผิดได้ จนเสียโอกาสในการรักษา จึงขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อโดยเด็จขาด สปสช.จะดำเนินคดีโดยเร็ว โดยกรณีผู้ที่มีปัญหาสายตาขอให้เข้ารับการดูแลโดยจักษุแพทย์ เพื่อที่จะได้รับการวินิจฉัยและเข้ารับการรักษาอย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือสิทธิบัตรทอง 30 บาทอยู่แล้ว โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย” โฆษก สปสช. กล่าวstd47894• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอย่าเชื่อข่าวปลอม รัฐทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี 5,000 บาท ในเดือนนี้วันที่ 8 มิถุนายน 2566 นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงกรณีที่มีการแชร์และส่งต่อข้อมูล “รัฐฯ ทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี จำนวน 5,000 บาท ภายในเดือนมิถุนายนนี้” ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ซึ่งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย (Anti-Fake News Center Thailand : AFNC) ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้ออกมาชี้แจงข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลเท็จกรชื่อนี้เสียไม่ได้• 2 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเซรั่มจมูกโด่งใช้7วันจมูกโด่งผู้บริโภคเฝ้าระวังstd47886• 2 ปีที่แล้ว