13215 ข้อความ
- 2 คนสงสัยครีมดั้งโด่งใน 7 วันอย. เตือนแล้วเตือนอีก ไม่มีครีม – เซรั่ม ทาแล้วจมูกโด่งภายใน 7 วันได้จริงstd48058• 1 ปีที่แล้ว2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 4 คนสงสัยอาหารเสริมผิวกระจ่างใส ผิวนุ่มเด้งภายใน7วันstd48033• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมคณะกรรมการสลาก พิจารณาเลื่อนออกรางวัลวันที่1 ส.ค 64std48028• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยาผอมไวกิน1กล่อง ลด3-5กิโลลดความอ้วนstd48021• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยกัญชารักษามะเร็งได้จริงหรือปัจจุบัน “การใช้กัญชาทางการแพทย์” ได้รับการยอมรับมากขึ้น หลังจากมีกฎหมายรองรับ แต่ใช่ว่าคนไข้จะหามารับประทานได้เอง หรือสกัดใช้เอง เพราะต้องอยู่ในดุลพินิจของแพทย์เท่านั้น ซึ่งในกรณีที่เกี่ยวข้องกับโรค กัญชากับการรักษามะเร็ง ที่ยังรอการมะเร็งstd48036• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยเป๋าตังยืมได้10,000แอปเป๋าตังให้กู้เงิน10,000บาท ลงทะเบียนได้ทุกอาชีพstd48051• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยหักล้างข่าวลือเกี่ยวกับวัคซีนโควิดทั้งการฝังไมโครชิปและ “เปลี่ยนดีเอ็นเอ” ในคนความกังวลที่ว่า วัคซีนจะเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอของคุณด้วยวิธีการบางอย่าง เป็นหนึ่งในข้ออ้างที่เราพบเห็นทางโซเชียลมีเดียมากที่สุด บีบีซี ได้สอบถามนักวิทยาศาสตร์อิสระ 3 คน เกี่ยวกับเรื่องนี้ พวกเขาบอกว่า วัคซีนป้องกันโควิด-19 จะไม่เปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอของมนุษย์ วัคซีนที่เพิ่งสร้างขึ้นมาใหม่บางส่วน รวมถึงวัคซีนที่ได้รับการรับรองในสหราชอาณาจักร ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไฟเซอร์-ไบออนเทค (Pfizer-BioNTech) ได้ใช้เศษชิ้นส่วนสารพันธุกรรมของไวรัส หรือที่เรียกว่า เมสเซนเจอร์ อาร์เอ็นเอ (messenger RNA—mRNA) "การฉีดอาร์เอ็นเอเข้าไปในคนไม่ได้ส่งผลอะไรต่อดีเอ็นเอของเซลล์มนุษย์" ศาสตราจารย์เจฟฟรีย์ อัลมอนด์ จากมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด กล่าวstd48025• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยครีมทาผิวขาวมีผู้ใช้ ใช้แล้วผิวแตกง่าย เป็นสิวเรื้อรังstd48019• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 5 คนสงสัยใช้น้ำอัดลมเทใส่เนื้อหมูสด ทำให้หนอนหรือพยาธิออกจากเนื้อหมูจากกรณีที่มีการส่งต่อคลิปวิดีโอวิธีการทำให้หนอนหรือพยาธิออกจากเนื้อหมู ด้วยการราดน้ำอัดลมลงบนเนื้อหมูสดนั้น ทางกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ตรวจสอบและชี้แจงข้อเท็จจริงว่า วิธีการดังกล่าวไม่สามารถทำให้สิ่งแปลกปลอม ทั้งหนอนหรือพยาธิออกมาจากเนื้อหมูได้ ซึ่งคลิปดังกล่าวในการถ่ายทำมีบางช่วงบางตอนที่ผู้ผลิตคลิปไม่ได้ถ่ายทำไปบนเนื้อทดลอง จึงเป็นไปได้ว่า จะเป็นการจงใจใส่สิ่งผิดปกติลงไป หรือเป็นการตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกยอดไลก์ ยอดแชร์ในช่องทางโซเชียลมีเดีย บทสรุปของเรื่องนี้ : วิธีการดังกล่าวไม่สามารถทำให้สิ่งแปลกปลอม ทั้งหนอนหรือพยาธิออกมาจากเนื้อหมูได้ กรมปศุสัตว์นำเนื้อสุกรหลายส่วน มาทดลองเช่นเดียวกับในคลิปที่ส่งต่อ ๆ กันนี้ และไม่พบลักษณะผิดปกติดังที่ปรากฏstd48035• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมแอปเป๋าตังให้กู้เงิน1หมื่นบาทลงทะเบียนได้ทุกอาชีพstd48028• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยเลือดเป็นด่างมีโอกาสติดโควิด-19 ได้น้อยลงเป็นเรื่องที่แชร์กันมากตั้งแต่ ไวรัสโควิด-19 เริ่มระบาดใหม่ ๆ เลยทีเดียว โดยมีการอ้างว่า คนที่กินเจ กินแต่ผักผลไม้ จะทำให้เลือดเป็นด่าง และเชื้อโควิด-19 จะไม่สามารถทำอันตรายใด ๆ ได้ ซึ่งไม่เป็นความจริง โดย พ.ต.ต.นพ.ธนิต จิรนันท์ธวัช อายุรแพทย์ และโฆษกโรงพยาบาลตำรวจ ได้อธิบายผ่านสื่อมวลชน เรื่องค่า pH ของเลือดมนุษย์ที่จะอยู่ที่ 7.35-7.45 และการบริโภคผักและผลไม้ก็ไม่สามารถเปลี่ยนค่านี้ได้ นอกจากนี้ยังไม่มีข้อพิสูจน์ทางการแพทย์ และวิทยาศาสตร์ใด ที่ยืนยันว่าการรับประทานผลไม้ที่มีฤทธิ์เป็นด่าง มีผลในการช่วยฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ไstd48030• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยพอกผิวด้วยฟักทอง ช่วยบำรุงให้ผิวขาวขึ้น' เป็นข้อมูลเท็จ 1136ฟักทอง ทำให้ผิวหน้าเนียนนุ่มกระจ่างใส ทางกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงถึงข้อมูลดังกล่าวว่า การนำเนื้อฟักทองมาพอกนั้นไม่ได้ทำให้ผิวขาวขึ้นความสวยความงามstd48040• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยข่าวปลอมเราไม่ทิ้งกันรอบใหม่รับ8000บาท/คนส่วนคนละครึ่งเพิ่ม5000บาทstd48028• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยอาหารเสริมเปลี่ยนหุ่นพังให้เป็นหุ่นปังภายใน7วันstd48033• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยใช้น้ำอัดลมเทใส่เนื้อหมูสด ทำให้หนอนหรือพยาธิออกจากเนื้อหมูการทำให้หนอนหรือพยาธิออกจากเนื้อหมู ด้วยการราดน้ำอัดลมลงบนเนื้อหมูสดนั้น ทางกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ตรวจสอบและชี้แจงข้อเท็จจริงว่า วิธีการดังกล่าวไม่สามารถทำให้สิ่งแปลกปลอม ทั้งหนอนหรือพยาธิออกมาจากเนื้อหมูได้std48057• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยนมตราหมี ยาฆ่าพยาธิ และน้ำมันหอมระเหยในขณะที่ยอดผู้ติดเชื้อโรคโควิด-19 สายพันธุ์เดลตากำลังพุ่งสูงในอินโดนีเซีย ข้อมูลเท็จเกี่ยวการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแพร่สะพัดในโลกออนไลน์เพิ่มสูงเป็นเงาตามตัว โรงพยาบาลต่าง ๆ กำลังประสบปัญหาคนไข้ล้น และการขาดแคลนออกซิเจน ขณะที่ประชาชนต่างพยายามหาหนทางช่วยเหลือญาติพี่น้องและเพื่อนฝูงที่ล้มป่วยด้วยโควิด ทีมงานตรวจสอบความจริง "เรียลิตี เช็ก" ของบีบีซี จะพาไปดูข้อมูลเท็จต่าง ๆ ที่ถูกเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตในอินโดนีเซียขณะนี้มีมstd48025• 1 ปีที่แล้ว3 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยปตท แจกเงิน 10,000ปตท. แจกคนละ 10,000 ง่ายๆเพียงแค่เข้าเว็บไซต์แล้วทำแบบสอบถาม ชี้แจงกระจ่างล่าสุด ตรวจสอบโดยศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมและ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)std48021• 1 ปีที่แล้ว5 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยก.แรงงานจับมือบริษัทจัดหางาน อีพีเอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รับสมัครช่างเชื่อมไปทำงานประเทศเกาหลีจากที่มีผู้ให้ความสนใจในข้อมูลที่ว่า ก.แรงงานจับมือบริษัทจัดหางาน อีพีเอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รับสมัครช่างเชื่อมไปทำงานประเทศเกาหลี ทางกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริง เนื่องจากบริษัทจัดหางานฯ ข้างต้น รวมถึงผู้ประกาศรับสมัครงานดังกล่าวไม่ได้ยื่นหนังสือแสดงความต้องการแรงงานของนายจ้างในต่างประเทศ (Demand Letter) และหนังสือมอบอำนาจให้บริษัทจัดหางานเป็นผู้จัดส่งคนหางานให้กับนายจ้างในต่างประเทศต่อกรมการจัดหางานเพื่อขอโฆษณาจัดหางานใด ๆ ทั้งสิ้นstd48039• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโควิด-19 แพร่กระจายผ่านอากาศ (Airborne)ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่าง ๆ ว่า เชื้อไวรัสโควิด-19 แพร่กระจายผ่านอากาศนั้นOnyourch Eese• 1 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยติดเชื้อไวรัส Parabola จากสุนัขและแมว ทำให้ไขกระดูกไม่สร้างเลือดติดเชื้อไวรัส Parabola จากสุนัขและแมว ทำให้ไขกระดูกไม่สร้างเลือด ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าข้อมูลดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีที่มีการแชร์ข้อมูลว่าพบเชื้อไวรัส Parabola แพร่จากหมาและแมวมาสู่คน โดยผู้ที่ติดเชื้อไวรัสนี้จะทำให้ไขกระดูกไม่สร้างเลือด ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวและชี้แจงว่า ไม่มีชื่อเชื้อไวรัส Parabola ปรากฏในสารบบทางการแพทย์ในประเทศไทยzxsr• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยยืนตากแดด ฆ่าโควิด-19 ได้ !หนึ่งในหลายเรื่องเกี่ยวกับการฆ่าเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่มีการนำมาแชร์ซ้ำก็คือ การยืนตากแดดจะสามารถฆ่าเชื้อได้ ซึ่งทางกรมควบคุมโรคโควิด 2019Onyourch Eese• 1 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยโคโรน่าแพร่ผ่านทางสายเลือดมีผู้โพสต์ลงในอินเตอร์เน็ตว่าเชื้อโคโรน่าถ่ายทอดไปยังลูกๆได้ มีการอ้างอิงถึงแม่ลูกคู่หนึ่งที่คุณแม่ตั้งครรภ์และเมื่อคลอดลูก ลูกลับติดเชื่อละเสียชีวิตstd48019• 1 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยโควิดสายพันธุ์ XBB ตรวจพบยาก เป็นพิษมากกว่าเดลตา 5 เท่า และมีอัตราการตายที่สูงกว่าจากกรณีที่มีการแจ้งเตือนโดยระบุว่า โควิดสายพันธุ์ XBB ตรวจพบได้ยาก เป็นพิษมากกว่าเดลตา 5 เท่า และมีอัตราการตายที่สูงกว่านั้น ทางกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ออกมาชี้แจงว่า ปัจจุบันสายพันธุ์โอมิครอน BN.1 และลูกหลานซึ่งมีความได้เปรียบในการแพร่กระจาย และสามารถหลบเลี่ยงภูมิคุ้มกันได้ดีเป็นสายพันธุ์หลักที่แพร่กระจายอยู่ในประเทศไทยแต่มีแนวโน้มลดลง ในขณะเดียวกัน สถานการณ์สายพันธุ์ลูกผสม XBB.1.5 XBB.1.16 และ XBB* รวมถึงลูกหลาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและน่าจะกลายเป็นสายพันธุ์หลักในอนาคต ผลการเฝ้าระวังสายพันธุ์เชื้อก่อโรคโควิด 19 ในประเทศไทย ด้วยการตรวจหาสารพันธุกรรมแบบทั้งตัว ในช่วงเดือนมีนาคม 2566 พบว่าสัดส่วนสายพันธุ์ BA.2.75* และลูกหลานมีแนวโน้มลดลงจากเดิมที่พบสัดส่วน 73.02% ในสัปดาห์แรกของเดือน ลดลงเหลือ 40.00% ในสัปดาห์สุดท้าย ขณะที่สายพันธุ์ XBB* มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 12.70% ในสัปดาห์แรกของเดือน เป็น 20.00% ในสัปดาห์สุดท้าย ส่วนสายพันธุ์ XBB.1.16 ที่องค์การอนามัยโลกประกาศเป็นสายพันธุ์ที่กำลังติดตาม ซึ่งพบมากในอินเดียและมีแนวโน้มเพิ่ม บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ปัจจุบันสายพันธุ์โอมิครอน BN.1 และลูกหลานซึ่งมีความได้เปรียบในการแพร่กระจาย และสามารถหลบเลี่ยงภูมิคุ้มกันได้ดีเป็นสายพันธุ์หลักที่แพร่กระจายอยู่ในประเทศไทยแต่มีแนวโน้มลดลง ในขณะเดียวกัน ยังไม่มีหลักฐานแสดงว่า XBB.1.16 ส่งผลต่อความรุนแรงของโรค และวิธีการตรวจหาเชื้อที่ใช้ในปัจจุบันยังตรวจจับเชื้อได้อยู่std48035• 1 ปีที่แล้ว
- 2 คนสงสัยเตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19สภาองค์กรของผู้บริโภค เตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19 ด้าน อย. ระบุแล้วเป็นโฆษณาเกินจริง มีข้อความไม่เป็นธรรมกับผู้บริโภค จากการที่สภาองค์กรของผู้บริโภค (สอบ.) เตือน อย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์ฟ้าทะลายโจรสำหรับพ่นปากและลำคอ’ อ้างสรรพคุณป้องกันโควิด-19 จึงแจ้งไปยังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อขอให้ตรวจสอบการโฆษณาสเปรย์สำหรับพ่นลำคอข้างต้นว่าเข้าข่ายผิดกฎหมายหรือไม่ผู้บริโภคเฝ้าระวังstd48951• 1 ปีที่แล้ว2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
- 1 คนสงสัยสเปรย์สำหรับพ่นปากและคอ ช่วยฆ่าโควิด-19 ได้!จากที่มีการแชร์ข้อมูลว่า ผลิตภัณฑ์สเปรย์สำหรับพ่นปากและคอ (เบตาดีน โทรตสเปรย์) สามารถยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาOnyourch Eese• 1 ปีที่แล้ว