40 คนสงสัย
ค้นหาข่าวลวง
ไม่ระบุชื่อ
 •  3 ปีที่แล้ว
1 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
0 ความเห็น

ผู้บริโภคเฝ้าระวัง

Joke_Air เลือกให้ข้อความนี้💬 มีความเห็นส่วนตัว

เหตุผล

ใช้กูเกิล หรือใช้ bing ก็จะเจอครับ

ความเห็นต่าง

3 ปีที่แล้ว
28
10
(Why?)
Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ

เหตุผล

ข้อความนี้สั้นเกินไป อาจจะเกิดจากผู้ใช้งานพิมพ์ข้อความเข้ามาเอง
3 ปีที่แล้ว
13
6
(Why?)

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ
    ตามที่มีการแชร์ข้อมูลเรื่องทานไฟเบอร์ก่อนไข่และชีส ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีมีคลิปวิดีโอถูกเผยแพร่ในสื่อออนไลน์เกี่ยวกับทานไฟเบอร์ก่อนทานไข่และชีส ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ ทางสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและชี้แจงว่า ไฟเบอร์ หรือเส้นใยอาหาร (dietary fiber) คือ คาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายไม่สามารถย่อยสลาย หรือดูดซึมได้ แบ่งได้ 2 ประเภทคือ ชนิดที่ละลายน้ำได้และชนิดที่ไม่ละลายน้ำ มีประโยชน์ต่อร่างกายช่วยลดการดูดซึมน้ำตาล และคอเลสเตอรอลที่ลำไส้ พบมากในผัก ผลไม้ ถั่ว ซีเรียล ธัญพืชเช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวโพด
    chutikarn222549
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผลิตภัณฑ์ D.U.D
    ตามที่มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ D.U.D คืนความอ่อนเยาว์กลับไปได้ 20 ปี ใน 3 เดือน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีผลิตภัณฑ์ D.U.D ที่ใช้ข้อความโฆษณาแสดงสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ว่าสามารถคืนความอ่อนเยาว์กลับไปได้ 20 ปี ใน 3 เดือนนั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ดังกล่าวและชี้แจงว่า ผลิตภัณฑ์ D.U.D จดแจ้งเป็นเครื่องสำอาง สำหรับบำรุงผิว มีเลขที่ใบจดแจ้ง 12-1-6300050347 และจากการตรวจสอบเว็บไซต์ขายผลิตภัณฑ์ D.U.D ได้ระบุสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ว่า ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสามารถฟื้นฟู คืนความอ่อนเยาว์ให้แก่ผิวหน้า ลบริ้วรอยทันตาเห็น ลดอายุลงไปจากเดิม 20 ปี ใน 3 เดือน และกล่าวอ้างว่า เจ้าของผลิตภัณฑ์ดัง
    std47602
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวนี้จริงหรือไม่
    ไม่ระบุชื่อ
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    วิธีการตรวจมะเร็งง่าย ๆ โดยการเอาน้ำมันพืชมาทาแขน แล้วเอาเล็บขูดๆ เกาๆ
    การตรวจค้นหามะเร็งระยะเริ่มแรกหรือการตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง เป็นการตรวจร่างกายในผู้ที่ยังไม่มีอาการของโรคเพื่อค้นหามะเร็งตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ ซึ่งจะทำให้มีโอกาสรักษาให้หายขาดได้ โดยทั่วไปหลักการที่สำคัญในการตรวจค้นหามะเร็งในระยะเริ่มแรก ได้แก่ การสอบถามประวัติสุขภาพและพฤติกรรมการใช้ชีวิต การตรวจร่างกายโดยละเอียด เช่น การตรวจเต้านม การตรวจทวารหนัก การตรวจปากมดลูก และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจเม็ดเลือด การเอกซเรย์ปอด ซึ่งหัตถการเหล่านี้จำเป็นที่จะต้องได้รับการพิจารณาหรือวินิจฉัยโดยแพทย์ ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลว่าวิธีการตรวจมะเร็งง่าย ๆ โดยการเอาน้ำมันพืชมาทาแขน แล้วเอาเล็บขูดๆ เกาๆ นั้น จากการสืบค้นข้อมูลพบว่าวิธีดังกล่าวไม่สามารถตรวจหามะเร็งได้ เนื่องจากการตรวจคัดกรองมะเร็งแต่ละชนิดนั้น มีวิธีการและข้อกำหนดที่แตกต่างกัน ซึ่งในปัจจุบันโรคมะเร็งที่สามารถคัดกรองได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ได้แก่ โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งปากมดลูก โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง
    Fang Orawan
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กักตัวแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ 14 วัน จำนวน 62 คนที่สุไหงโก-ลก จริงหรือคะ
    โรงพยาบาลยังเปิดทำงานปกติ แต่ได้ข่าวว่ากักตัวหมอและบุคลากรทางการแพทย์รวมแล้ว 62 คน เพราะมีผู้ป่วยปกปิดประวัติ จริงหรือคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ . ตามที่มีการโพสต์ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลบิดเบือน . กรณีการโพสต์ให้ข้อมูลโดยระบุว่าพบกรดเบนโซอิกในก๋วยเตี๋ยวประเภทต่างๆ โดยแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า จากที่มีการแชร์ข้อมูลผลตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเมื่อปี 2550 ซึ่งสำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในฐานะห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านการตรวจวิเคราะห์อาหารของประเทศ ได้มีการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังการใช้วัตถุกันเสีย (กรดเบนโซอิคและกรดซอร์บิค) ในอาหารประเภทเส้นมาอย่างต่อเนื่อง . นอกจากนี้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว ซึ่งการผลิตอาหารประเภทเส้น บางชนิดมีการใช้วัตถุกันเสีย เพื่อช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต หรือทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุให้อาหารเน่าเสีย หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะกรดเบนโซอิกทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และท้องเสีย แต่หากได้รับในปริมาณน้อยร่างกายสามารถขับออกไปได้ ซึ่งข้อมูลของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตรและองค์การอนามัยโลกแห่งสหประชาชาติ (The joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives, JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (ADI) พบว่า มีความเป็นพิษต่อคนและสัตว์น้อย . อย่างไรก็ตามวัตถุกันเสียทั้งสองชนิดมีข้อกำหนดการใช้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 418) พ.ศ.2563 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2) สำหรับกรดเบนโซอิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในอาหารประเภทเส้นที่ผ่านกระบวนการต้ม การนึ่ง การปรุงให้สุกการพรีเจลาทิไนซ์ (Pre-gelatinized) หรือแช่เยือกแข็ง และเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป ส่วนกรดซอร์บิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉพาะอาหารประเภทเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป . เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังคงเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นที่ทำจากแป้งอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งพัฒนาผู้ผลิตให้มีความรู้ความเข้าใจการใช้วัตถุกันเสียอย่างถูกต้อง ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ อย.กำหนด ซึ่งผู้ผลิตจะต้องควบคุมกระบวนการผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP สำหรับผู้บริโภคควรเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ปรุงสุก สดใหม่ สะอาด ถูกสุขอนามัย และไม่ควรรับประทานอาหารซ้ำๆ กันเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ . ดังนั้นข้อมูลที่มีการโพสต์ และแชร์ต่อในขณะนี้ จึงเป็นข้อมูลบิดเบือน ขอความร่วมมือประชาชน ไม่แชร์ ไม่ส่งต่อข่าวดังกล่าว เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www3.dmsc.moph.go.th หรือโทร. 02 9510000 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลที่มีการบอกต่อดังกล่าวเป็นข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์เมื่อปี 2550 แต่ปัจจุบันกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ประเภทเส้นที่ทำจากแป้งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . Website : https://www.antifakenewscenter.com/
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    รัฐฟลอริด้าประกาศ มหันตภัยจาก 'วัคซีน mRNA' ที่แท้ถูกสร้างมาเป็นอาวุธชีวภาพทำลายชีวิตผู้คน . 21 JULY , 2023 (21 ก.ค.66) ผู้ใช้ Blockdit 'ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์' ได้โพสต์ข้อความ ระบุว่า... รัฐฟลอริด้ามีความกล้าหาญมากที่ออกมาแถลงว่าวัคซีน mRNA ที่ใช้ฉีดแก้โควิด-19 นั้น เป็นอาวุธชีวภาพที่เป็นอันตรายต่อชีวิตผู้ถูกฉีดมากกว่าเป็นคุณและกำลังดำเนินการเพื่อประกาศให้เป็นสิ่งผิดกฎหมายภายในรัฐ (Florida declare mRNA Covid shots a ‘Bio-Weapon’. Legislation looking to be passed to make it ILLEGAL to administer any mRNA Covid-19 Vaccine to anybody in the state) เห็นหรือยังครับ? คำว่า *ทฤษฎีสมคบคิด* (Conspiracy Theory) เป็นวาทกรรมที่ CIA สร้างขึ้นมาเพื่อสกัดมิให้คนเชื่อเมื่อมีคนแฉอาชญากรรมของยิวไซออนิสต์ที่คิดครองโลก ข่าวใดก็ตามที่ถูกตราว่าเป็นทฤษฎีสมคบคิด วิญญูชนไทยต้องศึกษาให้ลึกหรือต้องวิจัย แล้วจะเข้าใจความจริงเอง ไม่ต้องรอให้ฝรั่งมาชี้นิ้วว่าควรจะเป็นอย่างไร จักรวรรดิ์นิยมอเมริกานี้เติบโตมาพร้อม ๆ กับนโยบายลดจำนวนประชากรโลก ถือว่าทีมผู้บริหารรัฐฟลอริด้ากล้าหาญมากครับ กล้าหาญมากว่าประเทศไทยที่นักการเมืองส่วนใหญ่ถูกล้างสมองด้วยข่าวโฆษณาชวนเชื่อ ไม่มีวิจารณญาณมากพอจะแยกแยะ น่าจะเรียกว่าเป็น *ประเทศฟลอริด้า* กันได้แล้วนะครับเพราะนโยบายแตกต่างจากรัฐบาลกลางอย่างสิ้นเชิง เมื่อเปโตรดอลล่าร์ล่มสลายลง ถ้าจะแยกตัวไปเป็นเอกราช ก็ขอให้สำเร็จ ตอนนี้ เชื่อหรือยังว่าโควิด-19 มาพร้อมๆ กับนโยบายลดจำนวนประชากรโลก? แน่นอนครับ ขอให้ค้นคว้ากันเองและตัดสินใจเองว่าจะเชื่อหรือไม่เชื่อ ที่มา: https://www.blockdit.com/posts/64b401cae14dd411895a2bfe TheStatesTimes World NewsFeed mRNA รัฐฟลอริด้า วัคซีน โควิด19 Hard News Team THE STATES TIMES
    Joke Air
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คลอรีนผงผสมน้ำเพื่ออาบ ทำให้ผิวขาว
    ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องคลอรีนผงผสมน้ำเพื่ออาบ ทำให้ผิวขาว ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ คลอรีนเป็นสารกัดกร่อน จัดเป็นวัตถุอันตรายใช้สำหรับฆ่าเชื้อโรค ไม่เหมาะกับร่างกายของมนุษย์ อีกทั้งจัดเป็นสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง หากสัมผัสผิวหนังในปริมาณมากจะทำให้ผิวหนังไหม้รุนแรง ระคายเคืองดวงตาและระบบทางเดินหายใจ แนะใช้ตรงตามวัตถุประสงค์และปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลาก เพื่อความปลอดภัย
    std47931
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เมื่อวานนี้​ โควิดมาโจมตีหมู่บ้านชาวฟาติมาแล้ว​ เป็นกันทั้งครอบครับ​ 4 ท่าน...... ถูกรับตัวไปรักษาแล้ว... น้องบอสเป็นนักขับร้องฟาติมาด้วยและได้ ร่วมขับร้องในมิสซาฉลองวัดแบบปิด​ เมือ่13​ พค.ด้วย​ ดังนั้นวันนี้ทุกคนที่ทราบข่าวและอยู่ในมิสซา​ พากันไป​ รพ​ เพื่อตรวจหาเชื้อ​ รวมทั้ง​ คุณพ่อ​ และซิสเต้อร์ด้วย.... ขอคำภาวนาให้ทุกคนมีความปลอดภัยด้วยครับ
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    รัฐทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี 5,000 บาท ในเดือนนี้
    โฆษกรัฐบาล เตือน อย่าหลงเชื่อข่าวปลอม หลังข้อความว่อนโซเชียล “รัฐฯ ทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี 5,000 บาท ภายในเดือน มิ.ย.นี้” วอนหยุดแชร์ ป้องกันความสับสนและเข้าใจผิดขยายวงกว้าง วันที่ 8 มิถุนายน 2566 นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงกรณีที่มีการแชร์และส่งต่อข้อมูล “รัฐฯ ทบทวนสิทธิโอนเงินเข้าบัญชี จำนวน 5,000 บาท ภายในเดือนมิถุนายนนี้” ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ซึ่งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย (Anti-Fake News Center Thailand : AFNC) ตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้ออกมาชี้แจงข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลเท็จ
    std46298
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false