สถานการณ์ปัญหาการโฆษณาโอ้อวดเกินจริง
ปัจจุบันมีการโฆษณาหลอกลวงผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โดยอวดอ้างว่าสามารถรักษาได้สารพัดโรค อวดอ้างว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อรางกาย ผลิตภัณฑ์เหล่านี้บางรายการ ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียน บางผลิตภัณฑ์ไม่ได้รับอนุญาตให้โฆษณา ทำให้ประชาชนอาจได้รับอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์
จากการเฝ้าระวังของมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค (มพบ.) ตามโครงการสร้างเครือข่ายผู้บริโภคด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2557 ของ สำนักงาน กสทช. พบว่า มีการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โอ้อวด เกินจริง เข้าข่ายเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค 103 ชิ้นโฆษณา แบ่งเป็น โฆษณาอาหารเสริม 54 ชิ้น โฆษณายา 35 ชิ้น และโฆษณาเครื่องสำอาง 13 ชิ้น หากผู้บริโภคหลงเชื่อ อาจจะส่งผลตั้งแต่เสียทรัพย์ เสียสุขภาพ เสียโอกาสในการรักษา และอาจรุนแรงถึงเสียชีวิต
ปัจจุบันมีการโฆษณาหลอกลวงผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โดยอวดอ้างว่าสามารถรักษาได้สารพัดโรค อวดอ้างว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อรางกาย ผลิตภัณฑ์เหล่านี้บางรายการ ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียน บางผลิตภัณฑ์ไม่ได้รับอนุญาตให้โฆษณา ทำให้ประชาชนอาจได้รับอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์
จากการเฝ้าระวังของมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค (มพบ.) ตามโครงการสร้างเครือข่ายผู้บริโภคด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2557 ของ สำนักงาน กสทช. พบว่า มีการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โอ้อวด เกินจริง เข้าข่ายเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค 103 ชิ้นโฆษณา แบ่งเป็น โฆษณาอาหารเสริม 54 ชิ้น โฆษณายา 35 ชิ้น และโฆษณาเครื่องสำอาง 13 ชิ้น หากผู้บริโภคหลงเชื่อ อาจจะส่งผลตั้งแต่เสียทรัพย์ เสียสุขภาพ เสียโอกาสในการรักษา และอาจรุนแรงถึงเสียชีวิต
กสทช. เพื่อผู้บริโภค สื่อวิทยุ - โทรทัศน์
https://bcp.nbtc.go.th/th/detail/2017-01-25-12-03-42สถานการณ์ปัญหาการโฆษณาโอ้อวดเกินจริง ปัจจุบันมีการโฆษณาหลอกลวงผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โดยอวดอ้างว่าสามารถรักษาได้สารพัดโรค อวดอ้างว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อรางกาย ผลิตภัณฑ์เหล่านี้บาง