1 คนสงสัย
ข่าวปลอม
https://mof.c-th.cc/ เป็นเว็บไซต์ใหม่ของกระทรวงการคลัง
suphachoke.leng
 •  2 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    รัฐเตรีมแจก1000เพื่อช่วยเหลือประชาชน
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ รัฐฯ เตรียมโอนเงิน 1,000 ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง . ตามที่มีการส่งต่อข้อความในประเด็นเรื่องรัฐฯ เตรียมโอนเงิน 1,000 ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยหน่วยงานกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ . กรณีที่มีส่งต่อเรื่องราวโดยระบุว่า รัฐฯ เตรียมโอนเงินช่วยเหลือคนละ 1,000 บาท สำหรับกลุ่มเปราะบาง เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ โอนให้พร้อมกันทั่วประเทศ 9 มิ.ย. 66 นี้ ทางกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า เป็นข่าวสารที่เชื่อถือไม่ได้ และไม่ใช่ข้อมูลประกาศจากหน่วยงานรัฐฯ เนื่องจากรัฐบาลไม่มีนโยบายดังที่ในคลิปวิดีโอกล่าวถึงแต่อย่างใด . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อ และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกระทรวงการคลัง สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www.mof.go.th หรือโทร. 1689 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ไม่ใช่ข้อมูลประกาศจากหน่วยงานรัฐฯ เนื่องจากรัฐบาลไม่มีนโยบายดังที่ในคลิปวิดีโอกล่าวถึงแต่อย่างใด . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . LINE : @antifakenewscenter (http://nav.cx/uyKYnsG) Website : https://www.antifakenewscenter.com/ Twitter: https://twitter.com/AFNCThailand Tiktok : @antifakenewscenter สายด่วน : ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพื่อประชาชน 1111 ต่อ 87 . #ข่าวปลอม #ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม #AntiFakeNewsCenter #AFNCThailand #ข่าวนโยบายรัฐ #รัฐแจกเงิน #แจกเงิน1000บาท #โอนเงินสด
    std48123
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการแบงก์ชาติ ให้ความเห็นวิจารณ์การเมือง
    ตามที่มีคลิปวิดีโอได้เผยแพร่เนื้อหา เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการแบงก์ชาติ ให้ความเห็นวิจารณ์การเมือง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ กรณีการเผยแพร่คลิปวิดีโอ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึงผู้ว่าการแบงก์ชาติ ซึ่งระบุว่าผู้ว่าการแบงก์ชาติได้ให้ความเห็นวิจารณ์การเมืองนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวและชี้แจงว่า เป็นการนำ ปาฐกถาพิเศษ งานสัมมนาออนไลน์ในโอกาสครบรอบ 40 ปี วารสารการเงินธนาคาร Thailand’s Next Move : Looking Beyond Covid-19 หัวข้อ Looking Beyond Covid-19 : โจทย์ที่ท้าทายของเศรษฐกิจไทยหลังยุคโควิด 19″ ของ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ไปรายงานปนกับข่าวท่านนายกฯ ไปพูดที่ UN ทำให้เกิดการเข้าใจผิดว่า ท่านผู้ว่าการวิพากษ์การเมือง ซึ่งในเนื้อหาเป็นการพูดเรื่องภาวะเศรษฐกิจ Speech ผว. ธปท. https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Speeches/Gov/SpeechGov_18Nov2021.pdf
    syd46659
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ ไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของภาครัฐ .
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ ไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของภาครัฐ . ตามที่มีการบอกต่อข้อมูลในสื่อโซเชียลเกี่ยวกับประเด็นไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง และเจ้าหน้าที่ระดับสูงของภาครัฐ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงกับสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ,เทศบาลนครยะลา และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่าข้อมูลดังกล่าวนั้นเป็นข้อมูลเท็จ . จากกรณีที่มีการบอกต่อข้อความบนสื่อโซเซียลโดยระบุไลน์ขอยืมเงินจากบุคคลมีชื่อเสียง เจ้าหน้าที่ภาครัฐระดับสูง ทางสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ,เทศบาลนครยะลา และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ไลน์ดร. เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งข้อความขอยืมเงิน,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่งข้อความขอรับเงินบริจาคทำบุญสร้างห้องน้ำสาธารณะ,ไลน์รมว.ศึกษาธิการ ส่งข้อความขอยืมเงิน,ไลน์นายกเทศมนตรี จ.ยะลา ส่งข้อความขอยืมเงิน และไลน์ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส่งข้อความขอยืมเงิน ไลน์ดังกล่าวเป็นของมิจฉาชีพทั้งหมด ที่แอบอ้างใช้ชื่อของหน่วยงานรัฐ และที่มีการแอบอ้างใช้ชื่อรูปภาพของเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐระดับสูง ทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและหลงเชื่อ . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.opsmoac.go.th/ หรือโทร 0-2281-5884 ,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://web.parliament.go.th หรือโทร 0-2242-5900 ,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://ops.moe.go.th/ หรือโทร 02-628-6346 ,เทศบาลนครยะลา สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://yalacity.go.th/intro/?v=1 หรือโทร 073-223666 และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ https://www.m-society.go.th/ หรือโทร 1300 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ไลน์ดังกล่าวเป็นของมิจฉาชีพ ที่แอบอ้างใช้ชื่อของหน่วยงานรัฐ และที่มีการแอบอ้างใช้ชื่อรูปภาพของเจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐ ทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและหลงเชื่อ . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ,เทศบาลนครยะลา และสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . LINE : @antifakenewscenter (http://nav.cx/uyKYnsG) Website : https://www.antifakenewscenter.com/ Twitter: https://twitter.com/AFNCThailand สายด่วน : ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพื่อประชาชน 1111 ต่อ 87 . #ข่าวปลอม #ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม #AntiFakeNewsCenter #AFNCThailand #ไลน์ปลอม #แอบอ้าง #มิจฉาชีพ
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เตือนกระแสลือกรณีจ่ายเยียวยา 5,000 บาทเพิ่มจากเดิม 3 เดือน เป็น 6 เดือน จริงหรือคะ
    "เราไม่ทิ้งกัน" จ่ายเงินเยียวยา 5,000 บาท แค่ 3 เดือนเท่านั้น อุตตม สาวนายน เผยภารกิจต่อไปของกระทรวงการคลัง คือการคืนรายได้แก่ประชาชน รวมถึงออกมาตรการเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบต่อเนื่อง
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! เพจ Mymo_Funny ปล่อยสินเชื่อออมสินเพื่อคุณ ไม่ต้องใช้หลักประกัน
    จากกรณีตรวจพบข้อมูลบนสื่อออนไลน์เรื่องเพจ Mymo_Funny ปล่อยสินเชื่อออมสินเพื่อคุณ วงเงินสูงสุด 30,000 บาท ดอกเบี้ย 1.25% ต่อเดือน ไม่ต้องใช้หลักประกัน ทางธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า เพจเฟซบุ๊ก “Mymo_Funny” ไม่ใช่เพจของธนาคารและไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับธนาคารออมสิน เนื่องจากธนาคารไม่มีนโยบายให้บริการเงินกู้ผ่านทางเพจเฟซบุ๊ก แอปพลิเคชันไลน์ และ Messenger ตามที่เพจดังกล่าวนำมากล่าวอ้างแต่ประการใด website 2520 ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อเพจดังกล่าว ที่มีการแอบอ้างชื่อของธนาคารในการชักชวนในลักษณะนี้ โดยสามารถติดตามข่าวสารจากสื่อช่องทางหลักของธนาคารออมสิน ได้ที่เว็บไซต์ www.gsb.or.th, แอปพลิเคชัน MyMo, Social Media ช่องทาง GSB Society และ GSB Now หรือ GSB Contact Center โทร. 1115 เท่านั้น
    Akkarawin Ratchananon
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ธนาคารอิสลามปล่อยสินเชื่ออเนกประสงค์ วงเงินสูงสุด 5 เท่าของรายได้ ไม่ต้องมีหลักทรัพย์หรือบุคคลค้ำประกัน
    ตามที่มีการส่งต่อข้อมูลเรื่องธนาคารอิสลามปล่อยสินเชื่ออเนกประสงค์ วงเงินสูงสุด 5 เท่าของรายได้ ไม่ต้องมีหลักทรัพย์หรือบุคคลค้ำประกัน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ จากกรณีที่มีคลิปเผยแพร่ข้อความระบุว่า ธนาคารอิสลามปล่อยสินเชื่ออเนกประสงค์ วงเงินสูงสุด 5 เท่าของรายได้ ไม่ต้องมีหลักทรัพย์หรือบุคคลค้ำประกัน ทางธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เว็บไซต์ https://www.ibank.co.bank1.com เป็นเว็บไซต์ปลอมที่ได้แนะนำบริการเสมือนเว็บไซต์ของธนาคาร เพื่อขอข้อมูลส่วนตัวจากประชาชนที่หลงเชื่อ และหน้า Home Page มีการตัดต่อภาพและข้อความจาก 2 ผลิตภัณฑ์ที่สิ้นสุดระยะเวลาแล้ว โดยนำเสนอภาพและข้อความสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบอาชีพรายย่อย และสินเชื่อวงเงินอเนกประสงค์สูงสุด 5 เท่าของรายได้ ไม่มีหลักประกัน ซึ่งปัจจุบันผลิตภัณฑ์สินเชื่อดังกล่าว ธนาคารไม่ได้ให้บริการแล้ว และสินเชื่อวงเงินอเนกประสงค์แบบไม่มีหลักประกัน ธนาคารให้บริการเฉพาะกลุ่มลูกค้าหัก บัญชีเงินเดือนที่หน่วยงานต้นสังกัดทำ MOU กับธนาคารเท่านั้น ทั้งนี้ เว็บไซต์ทางการของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยคือ https://www.ibank.co.th เท่านั้น
    std48431
     •  7 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ธอส. เปิดเพจ GH BANK ชวนลงทุนดอกเบี้ยต่ำ
    ตามที่มีการแชร์ข่าวสารเรื่อง ธอส. เปิดเพจ GH BANK ชวนลงทุนดอกเบี้ยต่ำ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับทางธนาคารอาคารสงเคราะห์ กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
    std48336
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เปิดสินเชื่อรากฐานไม่ต้องค้ำประกัน
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ เว็บฯ https://travelkub.com/ เปิดสินเชื่อรากฐาน ไม่ต้องค้ำประกัน โดย ธ. ออมสิน . ตามที่มีการตรวจพบข้อมูลเกี่ยวกับเว็บฯ https://travelkub.com/ เปิดสินเชื่อรากฐาน ไม่ต้องค้ำประกัน โดย ธ. ออมสิน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ . กรณีที่มีการส่งต่อข่าวสารเรื่อง ธ. ออมสิน เปิดสินเชื่อรากฐานรอบใหม่ ให้ยืมสูงสุด 10,000-30,000 บาท ทุกอาชีพ ไม่ต้องค้ำประกัน ผ่านเว็บฯ https://travelkub.com/ ทางธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า สินเชื่อดังกล่าว เป็นสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ผ่าน MyMo ซึ่งได้ครบระยะเวลาดำเนินโครงการแล้วเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2565 จึงขอแจ้งว่า ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลเท็จ ทั้งยังมีการแอบอ้างนำชื่อ และโลโก้ของธนาคารออมสินโฆษณาชวนเชื่อ . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อเพจดังกล่าว ที่มีการแอบอ้างชื่อของธนาคารในการชักชวนในลักษณะนี้ โดยสามารถติดตามข่าวสารจากสื่อช่องทางหลักของธนาคารออมสิน ได้ที่เว็บไซต์ www.gsb.or.th , แอปพลิเคชัน MyMo , Social Media ช่องทาง GSB Society และ GSB Now หรือ GSB Contact Center โทร. 1115 เท่านั้น . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลดังกล่าวเป็นสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ซึ่งครบระยะเวลาโครงการเมื่อวันที่ 30 ก.ย. 65 ทั้งยังมีการแอบอ้างนำชื่อ และโลโก้ของธนาคารออมสินโฆษณาชวนเชื่อโดยไม่ได้รับอนุญาต . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง
    std48339
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! รัฐหลอกให้ลงทะเบียนรับเงินเยียวยา เพื่อจะเรียกเก็บภาษีย้อนหลัง
    จากกรณีที่มีการพบข้อความในโลกโซเชียลว่า ใครไม่เคยเสียภาษีเลย ทำงานอิสระ เงินต่อปีเท่าไหร่ ถ้าเกิน 150,000 ตรวจย้อนหลังเจอเสียภาษีสองเท่า ชิมช้อปใช้มีคนโดนมาแล้ว ทางกรมสรรพากร กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ตามที่มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่า กรมสรรพากรจะนำข้อมูลของผู้ลงทะเบียน www.เราไม่ทิ้งกัน.com ไปใช้ในการตรวจสอบภาษีย้อนหลังของกลุ่มผู้มีอาชีพอิสระนั้น ขอแจ้งว่า ข้อมูลดังกล่าวไม่เป็นความจริง กรมสรรพากรขอยืนยันว่า ผู้ลงทะเบียนผ่าน www.เราไม่ทิ้งกัน.com เพื่อรับเงินตามมาตรการฯ ดังกล่าวจะไม่ถูกนำข้อมูลการลงทะเบียนมาใช้ในการตรวจสอบภาษี
    std46541
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ออมสินปล่อยกู้ผ่านไลน์ @341uithr และเพจสินเชื่อ โดยตรง
    ตามที่มีการตรวจพบข้อมูลว่า ออมสินปล่อยกู้ผ่านไลน์ @341uithr และเพจสินเชื่อ โดยตรง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง พบว่าเพจดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ
    chaita2535
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false