3 คนสงสัย
Test article
ไม่ระบุชื่อ
 •  4 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    https://mainstand.co.th/th/features/5/article/3844
    ไม่ระบุชื่อ
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    "ไม้พะยูง"ทำไมถึงแพง? ปลูกกันยังไง? รู้มั้ยปลูกแล้วได้เงินอุดหนุนด้วย! | เทคโนโลยีชาวบ้าน | LINE TODAY https://liff.line.me/1454988218-NjbXbq18/v2/article/qoYn5ew?utm_source=lineshare
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สธ.เตือน! หยุดส่งต่อข้อมูลเท็จ "โรคมะเร็ง" ต้องตรวจสอบก่อนแชร์
    เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ศูนย์การค้าเดอะไนน์ เซ็นเตอร์ ติวานนท์ จ.ปทุมธานี นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานเปิดกิจกรรม “วันมะเร็งโลก” โดยมีนายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร อธิบดีกรมการแพทย์ นายแพทย์สกานต์ บุนนาค ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ คณะผู้บริหาร ภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชน บุคลากรสาธารณสุข อสม. และ ประชาชน เข้าร่วมงาน นายอนุทิน กล่าวว่า โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนทั่วโลก ประเทศไทยพบผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ปีละประมาณ 140,000 คน เสียชีวิตประมาณ 80,000 คน โรคมะเร็งที่พบมาก 5 อันดับแรก คือ มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง และมะเร็งปากมดลูก กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาโรคมะเร็งมาโดยตลอด โดยได้ผลักดันการดูแลรักษาโรคมะเร็งเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและนำสู่การปฏิบัติ เพิ่มขึ้นหลายประการ ได้แก่ การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงด้วยการตรวจอุจจาระ หากพบความผิดปกติก็สามารถตรวจคัดกรองต่อด้วยการส่องกล้องตรวจลำไส้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยการตรวจหายีนผิดปกติ ในผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม และ การคัดกรองรอยโรคเสี่ยงมะเร็งและมะเร็งช่องปาก นอกจากนี้ยังสนับสนุนสนับสนุนให้มีการเปลี่ยนการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจากวิธี PAP smear เป็นการคัดกรองด้วยวิธีการตรวจ HPV test ทำให้ความไวและความแม่นยำในการคัดกรองโรคสูงขึ้น และเมื่อคัดกรองพบว่าเป็นโรคมะเร็งแล้ว ก็สามารถเข้าสู่การรักษาได้อย่างรวดเร็ว สามารถลัดขั้นตอนการส่งต่อในระบบปกติโดยไม่ต้องใช้ใบส่งตัว ตามนโยบาย “มะเร็งรักษาได้ทุกที่” (Cancer Anywhere) ซึ่งการวินิจฉัยเร็วและรักษาเร็ว เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มโครงการวันที่ 1 มกราคม 2564 จนถึงปัจจุบัน มีผู้ป่วยใช้สิทธิ์มะเร็งรักษาได้ทุกที่แล้วกว่า 325,000 คน หรือ กว่า 2,900,000 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันกับเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เช่น การตรวจวินิจฉัยด้วย PET scan ยารักษาโรคมะเร็งชนิดใหม่ สารสกัดกัญชาเพื่อลดอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นระหว่างการรักษา และการสนับสนุนอุปกรณ์ราคาแพง เช่น เครื่องฉายแสงให้กับโรงพยาบาลที่มีผู้ป่วยรอคอยการรักษาจำนวนมาก ทั่วประเทศ ทั้งนี้สมาพันธ์ควบคุมโรคมะเร็งสากล (UICC) ได้กำหนดให้วันที่ 4 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “วันมะเร็งโลก” โดยปีนี้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “Uniting our voices and taking action ร่วมส่งพลังเสียงและลงมือทำ” มุ่งเน้นการร่วมกันหยุดการส่งต่อข้อมูลเท็จด้านโรคมะเร็ง (Fake Cancer News) และให้กำลังใจกับผู้ป่วยโรคมะเร็งให้ผ่านพ้นช่วงเวลาที่ยากลำบากไปได้โดยเร็ว นอกจากการดำเนินงานของภาครัฐแล้ว สิ่งสำคัญคือความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในการรับผิดชอบต่อสังคม ไม่สร้างมลภาวะหรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ ลดพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
    std47626
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    อย.เตือนการโฆษณาเปิดรับพรีออเดอร์ชุดตรวจ COVID-19 Home Test นำเข้าจากประเทศเกาหลี ทางเฟซบุ๊ก อ้างได้รับรองจากเกาหลีและ WHO อย.ตรวจสอบแล้วไม่พบอนุญาตในไทย
    ไม่ระบุชื่อ
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    อย. เตือนอย่าซื้อชุดตรวจโควิด COVID-19 มาตรวจเอง จริงหรือ
    สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ขอเตือนว่า อย่าหาซื้อชุดตรวจโควิด COVID-19 แบบ Rapid Test ที่ลักลอบขายผ่านออนไลน์มาตรวจเอง เพราะเสี่ยงต่อการแปลผลที่ผิดพลาด เนื่องจากชุดตรวจ COVID-19 แบบ Rapid Test เป็นการตรวจหาภูมิต้านทานไม่ได้เป็นการตรวจหาเชื้อ ควรไปตรวจที่โรงพยาบาลจะได้ผลแน่นอนกว่า จริงหรือ
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สถานการณ์โควิด
    19:52 อรชร @ ปุ๊ ลูกชาย นพ.อดิศักดิ์ si69 อายุ51 เปนนักข่าว AP ที่ NY เสียชีวิตด้วยคว19 ทั้งที่มีอาการเล็กน้อย อจ.อดิศักดิ์เล่าว่า ‘ลูกชายเป็นคนแข็งแรง นักวิ่งมาราธอน ได้เหรียญ Full marathon มา 80 กว่าเหรียญแล้ว วันหนึ่งเมื่อเร็วๆนี้รู้สึกเหนื่อยและเพลีย ไม่มีไข้ ไม่ไอ ไปหาหมอ เขาก็เลยตรวจ COVID 19 test ปรากฏว่า positive ได้ follow up กับหมอมาตลอด จนกระทั่งมีอาการ breathing issue ถึงได้ไป ER ใน Manhattan พบ Pneumonia เข้า ICU on Ventilator ไม่กี่ ชม. ก็เสียชีวิตครับ มันรวดเร็วมากๆ อยากบอกเพื่อนๆว่า อย่าเอาเรื่องไข้ 37.5 C เป็น indicator ของโรคนี้ Unexplained fatigue ควรรับไว้พิจารณาด้วย.. 19:52 อรชร @ ปุ๊ For your information นะคะ จาก เพื่อนรัก พี่เปิ้ลซึ่งเป็น อาจารย์แพทย์ที่ ศิริราชค่ะส่งมาให้ วันนี้ 16 กค 65 เชื้อ BA5 ติดง่ายมากจนคิดว่าลงท้ายคงเป็นกันทุกคนทั้งโลก เมื่วานนี้มีแพทย์ท่านหนึ่งติดโควิดแล้วหาเตียงตามสิทธิ UC รักษาในรพ.ของรัฐไม่ได้ ขณะนี้อาการหนักต้องใส่ท่อช่วยหายใจอยู่ใน ICU รพ.เอกชนแห่งหนี่ง ทุก ๆ วันมีญาติ ๆ และเพื่อน ๆ ปรึกษาผมมาวันละหลาย ๆ รายว่าติดโควิดแต่หาที่รับยาและ/หรือหาเตียงในรพ.ไม่ได้ ซึ่งมีในทุก ๆ สิทธิของระบบการรักษา และเพื่อน ๆ แพทย์ต่างก็ปรารภมากับผมว่าพบเหตุการณ์แบบเดียวกันจำนวนมาก ในฐานะที่ผมเป็นแพทย์คนหนึ่งที่ยังตรวจผู้ป่วยที่รพ.อยู่เป็นประจำ ประเมินจากสถานการณ์จริงว่าขณะนี้น่าจะมีผู้ติดเชื้อเพิ่มในแต่ละวันเกินกว่าห้าหมื่นคนอย่างแน่นอน มีทั้งแบบไม่มีอาการ แบบอาการน้อยและแบบอาการหนัก (ทั้ง 3 แบบต่างก็แพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ทั้งสิ้น) ซึ่งเพื่อน ๆ แพทย์ของผมที่อยู่หน้างานจริงต่างก็คิดเหมือน ๆ กัน ดังนั้นผมจึงขอให้พี่น้องประชาชนทุก ๆ ท่านอย่าประมาทและการ์ดอย่าตกอย่างเด็ดขาดเพราะบางรายแม้ไม่ได้อยู่ในกลุ่ม 608 และฉีดวัคซีนแล้วไม่ต่ำกว้า 3 เข็มติดแล้วต้องใส่ท่อช่วยหายใจก็ยังมีให้เห็น อีกทั้งโควิดไม่เหมือนไข้หวัดใหญ่ที่หายแล้วจบ หากแต่ภายหลังหายแล้วระยะหนึ่งอาจเกิด MIS-C (Multisystem Inflammatory Syndrome in Children) กับลูกหลานของท่านซึ่งเป็นการอักเสบของหลาย ๆ อวัยวะพร้อม ๆ กันทำให้อาจเสียชีวิตได้ รวมทั้งทุก ๆ ท่านที่ติดเมื่อหายแล้วยังอาจเกิด Long Covid ในระยะยาวที่มีอาการได้ทั้งทางสมองและทางร่างกายทุก ๆ ส่วน กับท่านได้อีกด้วยนะครับ ด้วยความรักและความห่วงใย ศ.คลินิกเกียรติคุณนพ.อำนาจ กุสลานันท์ อดีตนายกแพทยสภา
    Mrs.Doubt
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สธ.แถลงด่วน พบผู้ป่วยสงสัยฝีดาษวานร Clade 1 รายแรกในไทยแล้ว เดินทางจากคองโก | MATICHON ONLINE | LINE TODAY https://liff.line.me/1454988218-NjbXbq18/v2/article/l2oZOyg?utm_source=lineshare
    ไม่ระบุชื่อ
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ปรับเกณฑ์ใหม่ จ่ายเงินเบี้ยผู้สูงอายุ 2566 ไม่ได้ถ้วนหน้า ต้องพิสูจน์ความจน https://liff.line.me/1454988218-NjbXbq18/v2/article/vX2pZWQ?utm_source=lineshare
    ไม่ระบุชื่อ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตั้งแต่ 1 ก.พ. 2022 เปิดลงทะเบียนให้ Test & go ทุกประเทศจริงไหม? และพัทยาจะกลายเป็น Sandbox แล้วหรอคะ?
    ได้ยินว่า ศบค. จะเปิดรับนักท่องเที่ยวทุกประเทศโดยใช้ Test & go แล้วพัทยาจะถูกขยายเป็นพื้นที่นำร่องท่องเที่ยวจริงไหมคะ
    nitsiri.wm
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    น้ำประปาสามารถดื่มได้หรือไม่?
    ในทุกวันนี้มนุษย์เราต้องการดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม อย่างไรก็ดี การซื้อน้ำดื่มมาบริโภคก็มาพร้อมกับค่าใช้จ่ายจำนวนมากในแต่ละเดือน จนทำให้ใครหลายคนเริ่มหาวิธีนำน้ำประปามาบริโภค แล้วปัจจุบันน้ำประปายังสะอาดและสามารถดื่มได้หรือไม่ (แหล่งข้อมูลจาก https://wells.co.th/is-tap-water-safe/) (https://uu.co.th/th/article/blog/is-tap-water-safe-to-drink#precautions-when-drinking-tap-water) จากการสัมภาษณ์ คุณคงกฤษ นาแซง ตำแหน่งนายช่างเครื่องกล6 การประปาส่วนภูมิภาคสาขามหาสารคาม ได้ข้อมูลว่า น้ำประปาสามารถดื่มได้ เนื่องจากได้รับการรับรองจะกรมอนามัยตามโครงการ “น้ำประปาดื่มได้” มีคุณภาพน้ำประปาตามเกณฑ์คุณภาพน้ำบริโภค ซึ่งก็จะมีการออกตรวจสอบน้ำตามชุมชนตามบ้านผู้ใช้น้ำ โดยมีหน่วยงานผลิต หน่วยงานของนักวิทยาศาสตร์ และกรมอนามัย อีกทั้งยังมีการผลิตน้ำประปาที่ได้มาตรฐานตามขั้นตอนการผลิตตั้งแต่การสูบน้ำดิบจากแหล่งน้ำ การเติมสารเคมีฆ่าเชื้อโรค การตกตะกอนของน้ำ การกรอง ไปจนถึงการสูบน้ำเพื่อส่งไปยังบ้านผู้ใช้น้ำ อีกทั้งยังมีการเฝ้าระวังตรวจสอบน้ำทุก ๆวันในแต่ละชุมชนซึ่งจะตรวจสอบค่าของคลอรีนที่ควบคุมไว้อยู่ที่ 0.2 มิลลิกรัม หากต่ำกว่า 0.2 มิลลิกรัมประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรคก็จะลดลงนั่นเอง ทั้งนี้ ก่อนนำน้ำประปาจากก๊อกมาดื่มจึงควรระวังเรื่องความสะอาด และความปลอดภัยของน้ำประปาก่อนเสมอ แต่เพื่อความสบายใจว่าเมื่อดื่มน้ำประปาไปแล้วจะไม่ส่งผลต่อสุขภาพ ก็ควรติดตั้งเครื่องกรองน้ำขนาดเล็กเอาไว้อีกขั้นก็ได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าน้ำประปาที่ผ่านระบบการกรองน้ำประปามาแล้วจะมีความสะอาด ก็อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายของมนุษย์อยู่ดี ไม่ว่าจะนำไปต้มดื่ม ผ่านความร้อน หรือวิธีการใด ๆ ก็ตาม แต่หากต้องการดื่มน้ำประปาได้อย่างปลอดภัย การติดตั้งเครื่องกรองน้ำไว้ในบ้านจึงถือเป็นหนึ่งในตัวช่วยที่ตอบโจทย์เป็นอย่างมาก เพราะเครื่องกรองน้ำจะช่วยกรองน้ำประปาอีกครั้ง ทำให้น้ำสะอาดมากขึ้นจนอยู่ในระดับมาตรฐาน ที่จะสามารถนำมาใช้ดื่มได้อย่างปลอดภัยต่อร่างกาย แหล่งข้อมูลจาก(https://www.taksak.co.th/can-drink-tap-water/)
    Chennarong Yongmong
     •  9 เดือนที่แล้ว
    meter: false