1 คนสงสัย
ดื่มแอลกอฮอล์แก้เมาค้างได้จริงหรือไม่
ดื่มแอลกอฮอล์แก้เมาค้างได้จริงหรือไม่
Watcharakorn Saensee
 •  3 ปีที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น

ผู้บริโภคเฝ้าระวัง

Watcharakorn Saensee เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

หากดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่มากเกินกว่าร่างกายจะสามารถรับได้ จะทำให้เกิดอาการมึนเมาจากแอลกอฮอล์และยังส่งผลให้เกิดอาการเมาค้างได้หากร่างกายขาด

ที่มา

https://www.facebook.com/103979872178079⋯photos/a.119125380663528/143208104921922

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือไม่ กด ##002# สามารถลดค่าใช้จ่ายโทรศัพท์ได้ทั้งหมด
    จริงหรือไม่ ถ้า กด ##002# จะสามารถลดค่าใช้จ่ายโทรศัพท์หรือค่าโทรส่วนเกินได้ทั้งหมด
    nutyty_MJU
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำด่าง หรือเรียกกันว่าน้ำอัลคาไลน์ ป้องกันมะเร็งได้ จริงหรือ
    น้ำอัลคาไลน์ หรือน้ำด่าง คือน้ำดื่มที่มีค่าความเป็นกรด ด่าง หรือค่า pH มากกว่า 7 ซึ่งตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท กำหนดค่าความเป็นกรด–ด่างต้องอยู่ระหว่าง 6.5–8.5 น้ำด่างกำลังเป็นที่พูดถึงในวงกว้างว่าเมื่อดื่มแล้วจะทำให้ร่างกายเกิดสมดุล และช่วยป้องกันไม่ให้เกิดมะเร็งได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    มีการโฆษณาว่าเครื่องตรวจวัดระดับออกซิเจนในเลือดที่ปลายนิ้วสามารถวินิจฉัยยืนยันการติดเชื้อโควิด -19 ได้ จริงหรือ
    มีสื่อต่างๆ โฆษณาแนะนำให้ประชาชนหาซื้อเครื่องตรวจวัดระดับออกซิเจนในเลือดที่ปลายนิ้ว มาไว้ติดบ้านเพื่อวัดระดับออกซิเจนในร่างกายและตรวจสอบว่าตนเองติดเชื้อโควิด-19 หรือไม่ ตรวจได้จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    พนักงานรักษาความปลอดภัยโรงพยาบาลรามัน ฉีดวัคซีนโควิด-19 แล้วแขนขาอ่อนแรง จริงหรือไม่ ?
    พนักงานรักษาความปลอดภัยโรงพยาบาลรามัน ฉีดวัคซีนโควิด-19 แล้วแขนขาอ่อนแรง ต้องนอนติดเตีย ง ทำงานไม่ได้ จริงหรือไม่ ?
    Abd Zaaq
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โควิดสายพันธุ์จากอังกฤษระบาดในไทย พบการแพร่กระจายได้เร็วกว่าเดิม 1.7 เท่า จริงหรือไม่
    โควิดสายพันธุ์จากอังกฤษระบาดในไทย พบการแพร่กระจายได้เร็วกว่าเดิม 1.7 เท่า จริงหรือไม่
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กีฬาแบดมินตัน เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันจริงหรือไม่?
    กีฬาแบดมินตันเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้จริงหรือไม่? จากการสัมภาษณ์คุณพีระ นนทะคำจันทร์ นักวิชาการศึกษา โรงพยาบาลสุทธาเวช และนักกีฬาแบดมินตันของทีมบุคลากรมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 ได้ให้ข้อมูลว่า กีฬาแบดมินตันเป็นกีฬาที่มีความเข้มข้นสูงและเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้จริง เนื่องจากลักษณะของกีฬาแบดมินตันต้องเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาสั้น ๆ แต่เข้มข้น ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับการออกกำลังกายแบบ HIIT (High-Intensity Interval Training) ซึ่งสามารถทำให้อัตราการเต้นของหัวใจพุ่งสูงถึง 170-180 ครั้งต่อนาที หากผู้เล่นมีโรคประจำตัวซ่อนอยู่ อัตราการเต้นของหัวใจที่สูงมากอาจกระตุ้นให้เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นการเล่นกีฬาแบดมินตันหรือกีฬาชนิดอื่นๆที่มีจะต้องมีการขยับร่างกายอย่างรวดเร็วและมีอัตราการเต้นของหัวใจที่สูงในระยะเวลาอันสั้นหรือกีฬาที่จะต้องรับแรกกระแทกในการเล่น ก็สามารถก่อให้เกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้จริง สนามกีฬาทุกแห่งจึงควรมีเครื่อง AED หรือเครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ ที่สามารถใช้ช่วยผู้ป่วยที่หมดสติและหัวใจวายฉับพลันขณะเล่นกีฬา ขั้นตอนการใช้เครื่อง AED -เปิดเครื่อง AED ติดแผ่นแพดแผ่นแรกที่หน้าอกตอนบน และแผ่นที่สองที่หน้าอกตอนล่าง (ทำตามคำแนะนำบนเครื่อง) ให้เครื่องวิเคราะห์จังหวะการเต้นของหัวใจ ห้ามสัมผัสผู้ป่วยระหว่างนี้ -หากเครื่องแนะนำให้กดปุ่ม “Shock” ให้กดปุ่มนี้โดยห้ามสัมผัสผู้ป่วย และทำ CPR ต่อเนื่องเป็นเวลา 2 นาที -หากเครื่องแนะนำว่า “สามารถสัมผัสผู้ป่วยได้” ให้ทำ CPR ทันที ควรทำ CPR อย่างต่อเนื่อง จนกว่าเครื่องจะเริ่มวิเคราะห์จังหวะการเต้นของหัวใจอีกครั้ง ทุกนาทีที่ผ่านไปมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการรอดชีวิต
    wararat.bs
     •  3 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ดื่มน้ำมะขาม ช่วยลดหน้าท้อง และลดไขมันได้ จริงหรือคะ
    มีการแชร์สูตรว่า ให้นำมะขามเปียกมาต้มดื่มเพื่อลดหน้าท้องและลดไขมันได้ จริงหรือคะ
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    Filler ไม่สามารถสลายเองได้หมด และจะทิ้งสารตกค้างบนใบหน้า จริงหรือไม่
    Filler ไม่สามารถสลายเองได้หมด และจะทิ้งสารตกค้างบนใบหน้า จริงหรือไม่
    Watcharakorn Saensee
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    นอกจากโควิดที่เราต้องระวัง ได้ข่าวว่าตอนนี้ไข้เลือดออกเริ่มระบาดหนัก จริงหรือไม่คะ
    โควิดก็ยังระบาดต่อไป ในขณะเดียวกันหน้าฝนเริ่มมา โรคระบาดจากยุงลายคือ โรคไข้เลือดออกน่ากลัวไม่แพ้กัน ได้ข่าวว่าเริ่มระบาดหนักทางภาคอิสาน จริงหรือไม่คะ
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ไม่มีบัญชีธนาคารกรุงไทย ไม่สามารถยืนยันรับสิทธิ์โครงการเราชนะได้ จริงหรือ
    มีการแชร์ข้อมูลว่า หากไม่มีบัญชีธนาคารกรุงไทย จะไม่สามารถยืนยันตัวตนบนแอปพลิเคชันเป๋าตัง เพื่อรับสิทธิ์โครงการเราชนะได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false