1 คนสงสัย
พาวเวอร์แบงก์ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) ดูดเงินจริงหรือไม่?
พาวเวอร์แบงก์ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) ดูดเงินจริงหรือไม่?
นอ นอ
 •  3 เดือนที่แล้ว
2 คนว่า ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ
0 ความเห็น

AIแอคปลอม

นอ นอ เลือกให้ข้อความนี้⚠️️ ไม่อยู่ในขอบเขตการตรวจสอบ

เหตุผล

จากข่าวลือเรื่องพาวเวอร์แบงก์ของธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) สามารถดูดเงินจากบัญชีของลูกค้าได้นั้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท

  • มี 1 ความเห็น เจ้าของลบไปแล้ว.
  • เพิ่มความเห็นใหม่

    กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

    คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    มีข่าวเตือนว่า มีมิจฉาชีพอ้างว่าเป็นพระ โทรมาขอเงิน จริงหรือคะ
    ช่วงโควิดมีมิจฉาชีพมาในหลายรูปแบบมาก ล่าสุดมีการหลอกอ้างว่าเป็นพระเดือดร้อน ขอเงิน จริงหรือเปล่าคะ
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ไปรษณีย์ไทยส่งอีเมลเรียกเก็บค่าดำเนินการ และแนบลิงก์เพื่อชำระเงิน จริงหรือ
    มีการแชร์ข้อมูลในโซเชียลมีเดียเกี่ยวกับประเด็นเรื่อง ไปรษณีย์ไทยส่งอีเมลเรียกเก็บค่าดำเนินการ และแนบลิงก์เพื่อชำระเงิน จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    พาวเวอร์แบงก์ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) ดูดเงินจริงหรือไม่?
    จากข่าวลือเรื่องพาวเวอร์แบงก์ของธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) สามารถดูดเงินจากบัญชีของลูกค้าได้นั้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ ตามที่มีการโพสต์เตือนเกี่ยวกับที่ชาร์จแบตเตอรี่ (พาวเวอร์แบงก์) จาก SCB สามารถดูดเงินไปเข้าบัญชีมิจฉาชีพได้นั้น ทางธนาคารไทยพาณิชย์ ได้ชี้แจงถึงประเด็นนี้ว่า ข้อความดังกล่าวไม่เป็นความจริง และยังไม่เคยมีกรณีลูกค้าถูกดูดเงินจากการใช้พาวเวอร์แบงก์ โดยธนาคารมีการมอบที่ชาร์จไร้สาย (Wireless Charger) เป็นของพรีเมี่ยมให้กับลูกค้าที่ซื้อผลิตภัณฑ์ตามเงื่อนไขในช่วงการจัดโปรโมชัน ไม่ใช่อุปกรณ์ขโมยข้อมูลหรือดูดเงินแต่อย่างใด ( ข้อมูลจากเว็บไซต์ : https://www.antifakenewscenter.com/ และ https://www.scb.co.th/th/personal-banking.html) ทั้งนี้ ก่อนที่จะเชื่อมต่ออุปกรณ์ใด ๆ เข้ากับเครื่องโทรศัพท์มือถือ ผู้ใช้งานควรตรวจสอบให้มั่นใจก่อนว่าอุปกรณ์ดังกล่าวได้มาตรฐาน ไม่มีส่วนใดชำรุด และสามารถใช้งานร่วมกันได้อย่างปลอดภัย เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ( ข้อมูลเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2567 ) ดังนั้นขอเตือนให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลดังกล่าว และขอความร่วมมือไม่ส่ง หรือแชร์ข้อมูลดังกล่าวต่อในช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ และเพื่อให้ประชาชนสามารถติดตามข่าวสารหรือบริการต่าง ๆ ของธนาคารไทยพาณิชย์ สามารถติดตามที่เว็บไซต์ www.scb.co.th หรือโทร 0 2777 7777 #ธนาคารไทยพาณิชย์ #ชมรมสื่อสร้างสรรค์มมส #ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมมหาวิทยาลัยมหาสารคาม #อีสานโคแฟค #สื่อสร้างสรรค์มมสofficial
    นอ นอ
     •  3 เดือนที่แล้ว
    meter: false