1 คนสงสัย
หากลืมรับประทานยา สามารถทานรวมกับมื้อถัดไปได้หรือไม่ ?
ยาแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและคำแนะนำในการรับประทานแตกต่างกัน เช่น ยาบางชนิดต้องการความต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อรักษาระดับยาในเลือด หากไม่รับประทานตามเวลาที่กำหนด อาจทำให้ยาออกฤทธิ์ไม่เต็มที่และส่งผลเสียต่อร่างกายได้
"ดังนั้นการลืมรับประทานยาจึงไม่ควรรับประทานรวมกับครั้งถัดไป เพราะอาจทำให้ยาออกฤทธิ์ไม่เต็มประสิทธิภาพ เกิดการดื้อยา และร่างกายอาจได้รับยาเกินขนาด"
Thitiwut Apiraktanakul
 •  20 วันที่แล้ว
meter: mostly-false--middle
2 ความเห็น

สุขภาพ

Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้◑ มีเนื้อหาที่เป็นจริงบางส่วน

เหตุผล

หากลืมรับประทานยาก่อนอาหาร หรือนึกได้ว่าต้องรับประทานยาก่อนที่จะทานอาหารไม่ถึงครึ่งชั่วโมง การทานยาก่อนอาหารทันที จึงไม่ต่างกับการรับประทานย

ที่มา

https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowle⋯ลังอาหาร-ลืมกินยาตามเวลา-อันตรายหรือไม่/
Thitiwut Apiraktanakul เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

ถ้าเป็นยาที่ต้องรับประทานเมื่อมีอาการ เช่นยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด ควรรับประทานตอนที่มีอาการจริง ๆ ถึงแม้จะระบุว่า ให้รับประทานยาทุก ๆ 4-6 ชั่วโ

ที่มา

htps://www.samitivejhospitals.com/th/article/detail/myths-medications
https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowle⋯ลังอาหาร-ลืมกินยาตามเวลา-อันตรายหรือไม่/

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    รับประทานผักกาดขาวหมัก รักษาตับอักเสบ
    ไม่ระบุชื่อ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์
    ข่าวบิดเบือน แพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ . ตามที่มีการโพสต์ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นเรื่องแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลบิดเบือน . กรณีการโพสต์ให้ข้อมูลโดยระบุว่าพบกรดเบนโซอิกในก๋วยเตี๋ยวประเภทต่างๆ โดยแพทย์เตือนให้เลิกกินก๋วยเตี๋ยว เพราะมีสารกันบูดเกินเกณฑ์ ทางกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า จากที่มีการแชร์ข้อมูลผลตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเมื่อปี 2550 ซึ่งสำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในฐานะห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านการตรวจวิเคราะห์อาหารของประเทศ ได้มีการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังการใช้วัตถุกันเสีย (กรดเบนโซอิคและกรดซอร์บิค) ในอาหารประเภทเส้นมาอย่างต่อเนื่อง . นอกจากนี้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว ซึ่งการผลิตอาหารประเภทเส้น บางชนิดมีการใช้วัตถุกันเสีย เพื่อช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต หรือทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุให้อาหารเน่าเสีย หากใช้ในปริมาณที่มากเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะกรดเบนโซอิกทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และท้องเสีย แต่หากได้รับในปริมาณน้อยร่างกายสามารถขับออกไปได้ ซึ่งข้อมูลของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารขององค์การอาหารและเกษตรและองค์การอนามัยโลกแห่งสหประชาชาติ (The joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives, JECFA) ได้ประเมินและกำหนดค่าความปลอดภัย (ADI) พบว่า มีความเป็นพิษต่อคนและสัตว์น้อย . อย่างไรก็ตามวัตถุกันเสียทั้งสองชนิดมีข้อกำหนดการใช้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 418) พ.ศ.2563 เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการใช้ และอัตราส่วนของวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 2) สำหรับกรดเบนโซอิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ในอาหารประเภทเส้นที่ผ่านกระบวนการต้ม การนึ่ง การปรุงให้สุกการพรีเจลาทิไนซ์ (Pre-gelatinized) หรือแช่เยือกแข็ง และเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป ส่วนกรดซอร์บิกให้ใช้ได้ไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เฉพาะอาหารประเภทเส้นแบบกึ่งสำเร็จรูป . เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังคงเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นที่ทำจากแป้งอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งพัฒนาผู้ผลิตให้มีความรู้ความเข้าใจการใช้วัตถุกันเสียอย่างถูกต้อง ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ อย.กำหนด ซึ่งผู้ผลิตจะต้องควบคุมกระบวนการผลิตให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP สำหรับผู้บริโภคควรเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ปรุงสุก สดใหม่ สะอาด ถูกสุขอนามัย และไม่ควรรับประทานอาหารซ้ำๆ กันเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ . ดังนั้นข้อมูลที่มีการโพสต์ และแชร์ต่อในขณะนี้ จึงเป็นข้อมูลบิดเบือน ขอความร่วมมือประชาชน ไม่แชร์ ไม่ส่งต่อข่าวดังกล่าว เพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และเพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สามารถติดตามได้ที่เว็บไซต์ www3.dmsc.moph.go.th หรือโทร. 02 9510000 . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลที่มีการบอกต่อดังกล่าวเป็นข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์เมื่อปี 2550 แต่ปัจจุบันกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ประเภทเส้นที่ทำจากแป้งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน GMP . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข . 📌 ช่องทางการติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม . Website : https://www.antifakenewscenter.com/
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สาเหตุอาการบ้านหมุน อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
    ใครที่มีอาการบ้านหมุน อย่าคิดว่าแค่นอนไม่พอเท่านั้น เพราะจริงๆ แล้วอาการบ้านหมุนมีหลายสาเหตุ อาจอันตรายกว่าที่คิดก็ได้ อาการ “บ้านหมุน” เป็นอย่างไร ทุกคนอาจคุ้นเคยกับอาการ “เวียนศีรษะ” ตามปกติ แต่สำหรับอาการบ้านหมุน จะเป็นอาการที่รู้สึกว่าตัวเองหมุนหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวหมุนได้ ซึ่งที่จริงแล้วไม่มีการเคลื่อนไหวนั้นเกิดขึ้นจริง สาเหตุของอาการบ้านหมุน อาการเวียนศีรษะแบบบ้านหมุน อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งความผิดปกติของระบบการทรงตัวของร่างกายตลอดจนความเจ็บป่วยอื่นๆ เช่น ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดสมอง หรือโรคเบาหวาน เป็นต้น ความผิดปกติของหูชั้นในหรือระบบสมองที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทรงตัว ความผิดปกติของระบบอื่นๆ เช่น ระบบไหลเวียนโลหิต หรือสายตา ฤทธิ์ข้างเคียงจากการรับประทานยาบางชนิด ปัจจัยอื่นๆ เช่น พักผ่อนไม่เพียงพอ เมารถ หรือเมาเรือ วิธีรักษาอาการบ้านหมุน ปกติแล้วแพทย์จะทำการรักษาตามสาเหตุ วิธีรักษาในแต่ละคนจึงแตกต่างกันออกไป เช่น อาจมีการให้ยาไปกินที่บ้าน เพื่อลดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือฝึกทรงตัว เพื่อให้ร่างกายสามารถปรับสมดุลของระบบประสาททรงตัวได้ เป็นต้น วิธีป้องกันการเกิดอาการบ้านหมุน หลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดอาการบ้านหมุน เช่น เครียด วิตกกังวล นอนหลับไม่เพียงพอ เป็นต้น หลีกเลี่ยงอาหารที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม ลดการสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ ออกกำลังกาย และบริหารประสาททรงตัวอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงเสียงดัง และการกระทบกระเทือนบริเวณหู
    somkid.so.63
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    * ข่าวดีคือ * ในที่สุด Ram นักศึกษาชาวอินเดียที่มหาวิทยาลัยพอนดิเชอร์รีได้พบยาสามัญประจำบ้านสำหรับ * Covid 19 * ซึ่งได้รับการอนุมัติจาก WHO เป็นครั้งแรก เขาพิสูจน์แล้วว่า * พริกไทยป่น 1 ช้อนชาน้ำผึ้ง 2 ช้อนชาน้ำขิงเล็กน้อยที่รับประทานติดต่อกัน 5 วันสามารถกำจัดผลของโคโรนาได้ถึง 100% * ทั่วโลกเริ่มรับการรักษานี้ในที่สุดก็เป็นประสบการณ์แห่งความสุขของปี 2021 * ส่งถึงทุกกลุ่มของคุณ ... * ไม่มีอะไรจะหลวมจากการลองสิ่งนี้
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    แมงดาทะเล มีพิษ กินแล้วอาจเสียชีวิตได้ จริงหรือ
    มีข่าวว่ามีหญิงคนหนึ่งรับประทานแมงดาทะเล ถึงกับเสียชีวิตเพราะว่าพิษของแมงดาทะเล จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    รับประทานไข่ทำให้แผลเป็นนูน
    ไม่ระบุชื่อ
     •  9 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    หญิงอายุ 23 ปี ที่จ. ปทุมธานี เสียชีวิตภายหลังการได้รับการฉีดวัคซีนโควิด-19 จริงหรือ
    หญิงดังกล่าวมีอาการเกิดขึ้นภายหลังการฉีดวัคซีน 1 วัน จากประวัติได้รับประทานอาหารเสริม จากนั้น 30 นาที มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ต่อมามีอาการเกี่ยวกับระบบประสาท ปวดศีรษะรุนแรง เริ่มมีการแสดงท่าทางแปลกๆ ซึ่งเป็นสัญญาณผิดปกติ และเสียชีวิตในเวลาต่อมา เสียชีวิตจากวัคซีนจริงหรือ
    anonymous
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    อย.เตือนอย่าซื้อผลิตภัณฑ์อ้างลดอ้วน ‘De2xy และ Me2shape’ เสี่ยงอันตราย
    อย.เตือนสาวอยากผอมระวัง อย่าซื้อผลิตภัณฑ์อวดอ้างลดอ้วน De2xy และ Me2shape พบเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่ขออนุญาตกับ อย. แถมโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เสี่ยงได้รับอันตรายถึงชีวิต นพ.พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้บริโภคให้ตรวจสอบการโฆษณาผลิตภัณฑ์ “De2xy และ Me2Shape” ซึ่งพบว่ามีการโฆษณาอ้างสรรพคุณเกินจริงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ นั้น อย.ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบการโฆษณาสรรพคุณอ้างลดน้ำหนักทางเฟซบุ๊กชื่อ Sunisa Lv’tl แสดงข้อความในทำนองช่วยควบคุมน้ำหนัก เปลี่ยนหุ่นเสีย เป็นหุ่นสวย เพราะมีตัวช่วยหุ่นดีที่ไม่ต้องอด ก็ลดได้ เพียงแค่วันละ 1 - 2 แคปซูล ซึ่งข้อความเหล่านี้เป็นการโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาตและโอ้อวดสรรพคุณเกินจริง เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ อย.ได้สั่งระงับการโฆษณาและดำเนินการทางกฎหมายกับผู้โฆษณาแล้ว นอกจากนี้ จากการสืบค้นข้อมูลในระบบตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ไม่พบข้อมูลการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหารในชื่อดังกล่าวแต่อย่างใด พร้อมกันนี้ได้ประสานเจ้าหน้าที่ตำรวจสืบหาต้นตอแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์ต่อไป รองเลขาธิการ อย. กล่าวต่อว่า ขอเตือนภัยสาวอยากผอมพึงระวัง อย่าตกเป็นเหยื่อหลงเชื่อคารมการโฆษณาเกินจริงจากผู้ขายโดยเด็ดขาด นอกจากจะไม่ได้ช่วยให้น้ำหนักลดลงแล้ว ยังส่งผลเสียต่อสุขภาพกรณีเป็นยาลดความอ้วนส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ลดความอยากอาหาร เป็นยาที่กระตุ้นประสาทส่วนกลางการใช้จะทำให้น้ำหนักลดลงได้ขณะรับประทานยา แต่น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อหยุดยา หรือที่เรียกว่า yo-yo effect และผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่พบบ่อย คือ นอนไม่หลับ เวียนศีรษะ วิตกกังวล ตาพร่า ดังนั้น การใช้ยาเพื่อลดความอ้วน ต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญเท่านั้น อย่าซื้อยามารับประทานเอง ส่วนกรณีเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ได้ขออนุญาตอย่างถูกต้อง มักตรวจพบว่ามีการผสมยาหรือสารอันตราย ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ พร้อมเตือนผู้ขายอย่าโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพอวดอ้างลดความอ้วนผ่านสื่อทุกช่องทาง ถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย หากตรวจพบจะถูกดำเนินคดีทันที ทั้งนี้ หากผู้บริโภคพบเห็นการอวดอ้างโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องสงสัย สามารถแจ้งร้องเรียนได้ที่ สายด่วน อย. 1556 หรือที่ E-mail: 1556@fda.moph.go.th หรือ ตู้ ปณ. 1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 หรือร้องเรียนผ่าน Oryor Smart Application หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดทั่วประเทศ
    std47993
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    รับประทานปลาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง สามารถลดความเสี่ยงโรคหัวใจได้ 36%
    ไม่ระบุชื่อ
     •  16 วันที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวว่าคนงานโรงงานปลากระป๋องที่สมุทรสาคร เรายังสามารถทานปลากระป๋องได้ปลอดภัย จริงหรือ
    คนงานที่โรงงานปลากระป๋องที่สมุทรสาครติดโควิด 900 กว่าคน สายการผลิตได้หยุดลงแล้ว แต่ปลากระป๋องมีการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิสูงจนเชื้อโควิดไม่น่าจะอยู่ได้ ทำให้เราสามารถรับประทานปลากระป๋องได้ปลอดภัย จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false