1 คนสงสัย
รู้ไหมว่า เชื้อโควิด-19 สะสมในสารคัดหลั่งชนิดไหนมากที่สุด
ไม่ระบุชื่อ
 •  3 ปีที่แล้ว
meter: true
1 ความเห็น

โควิด 2019

Ad.tar เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

“สารคัดหลั่ง” คือสารที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่ที่แตกต่างกันไป เมื่อร่างกายรับเชื้อ COVID-19 เข้าไปแล้ว เชื้อจะไปสะสมอยู่ในสารคัดหลั

ที่มา

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 2 คนสงสัย
    ข่าวปลอมอย่าแชร์! ผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง
    กรณีที่มีการแชร์ข้อความว่าผู้ที่ฉีดวัคซีนแอสตร้า มีความเสี่ยงเป็นโรคฝีดาษลิง ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่า ไม่เป็นความจริงการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฝีดาษลิงแต่อย่างใด โรคฝีดาษลิงเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่ม Poxviridae จัดอยู่ในจีนัส Orthopoxvirus เชื้อไวรัสฝีดาษลิงพบได้ในสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะสัตว์ตระกูลลิงและสัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก หนูป่า เป็นต้น รวมทั้งคนก็สามารถติดโรคได้ จากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด สารคัดหลั่ง หรือตุ่มหนองของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือจากการถูกสัตว์ที่มีเชื้อกัดข่วน การประกอบอาหารจากเนื้อสัตว์ป่า หรือกินเนื้อสัตว์ที่ปรุงสุกไม่เพียงพอ หรืออาจติดทางอ้อมจากการสัมผัสที่นอนของสัตว์ป่วย การแพร่เชื้อจากคนสู่คนแม้มีโอกาสน้อย แต่อาจเกิดขึ้นได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยผ่านทางสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ ผิวหนังที่เป็นตุ่ม หรืออุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
    std46748
     •  10 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    😢อันนี้ของจริง ไหนๆ Covid-19 ก็กลับมา ระบาดใหญ่จนได้😓 🤓ในฐานะคนเรียน จุลชีววิทยาและจบมาเป็น Microbiologist ขอให้ข้อมูลซึ่งเพิ่งหารือกับเพื่อนๆกลุ่มนักจุลชีววิทยาจนเข้าใจรายละเอียดตรงกันแล้วมาแบ่งปันดังนี้😍 1. การแพร่ระบาดในขณะนี้ ติดต่อจากสารคัดหลั่งคือเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เป็นหลัก 2. เชื้อไวรัสไม่ได้ลอยในอากาศ มันจะตายทันทีที่ออกมาสัมผัสอากาศ ที่มันออกมากระจายได้เพราะมันอยู่ในเซลล์ของเยื่อบุจมูกปากที่หลุดออกมากับน้ำมูก น้ำลาย 3. การติดเชื้อเกิดจากการสัมผัสสารคัดหลั่งเหล่านี้และนำเซลล์เยื่อเมือกนี้ไปเข้าตาหรือทางเดินหายใจ (อวัยวะที่มีเยื่อเมือกบุ เช่น ตา จมูก ปาก) 4. ไวรัสไม่สามารถเจาะผ่านผิวหนังเข้าร่างกาย ถ้าอยู่บนพื้นผิวมันจะตายเมื่อเซลล์ของคนป่วยที่หุ้มมันอยู่แห้งตาย เพราะตัวมันเองไม่มีชีวิต มันอาศัยในเซลล์ที่มีชีวิต ถ้าเซลล์หลุดออกจากร่างกายจะหมดชีวิตในเวลาไม่นานไวรัสก็ตายตามไปด้วย ***ในส่วนของการป้องกันนั้นทำได้ดังนี้*** 1. ใส่มาสก์เพื่อป้องกัน 2 ทาง 1.1 สำหรับคนที่ติดเชื้อใส่แล้วป้องกันไม่ให้แพร่เชื้อได้เพราะเวลาไอจามเซลล์เยื่อบุซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของไวรัสมีขนาดใหญ่กว่ารูของผ้าจะออกมาไม่ได้ ไม่ต้องห่วงว่าไวรัสจะเล็กกว่าและออกมาได้เพราะไวรัสอยู่ในเซลล์เยื่อเมือกอีกที 1.2 สำหรับคนที่ไม่เป็น การใส่มาสก์ช่วยป้องกันสารคัดหลั่งกระเด็นมาเข้าหน้าหรือจมูกปากและถ้ากระเด็นมาติดที่มาสก์ เชื้อก็ไม่เข้าเพราะมันอยู่ในเยื่อบุซึงใหญ่กว่ารูผ้า นอกจากนี้การใส่มาสก์ช่วยลดโอกาสที่มือจะไปสัมผัส ตา จมูก ปาก 2. ใส่ faceshield ช่วยป้องกันไม่ให้สารคัดหลั่งกระเด็นมาโดนมาสก์ และยังช่วยป้องกันไม่ให้สารคัดหลั่งที่อาจหลุดรอดจากมาสก์กระเด็นออกไปยังผู้อื่น 3. การล้างมือ สำคัญมากๆ เพราะมือคืออวัยวะที่นำเชื้อไม่ว่าจะมีสารคัดหลั่งตกอยู่ที่พื้นผิวใดๆไปเข้า ตา จมูก ปาก แม้แต่การใส่/ถอดมาสก์ ก็ต้องระมัดระวังว่าสารคัดหลั่งที่เปื้อนมาสก์จะโดนมือ และมือนำไปเข้าตา จมูก ปาก ดังนั้นต้องท่องจำไว้เสมอว่า "เราต้องไม่เอามือที่ยังไม่ฟอกล้างสะอาดไปโดนหน้า" 4. ผม โดยเฉพาะผมยาว เป็นที่ๆมีสารคัดหลั่งมาติดได้ง่ายมาก ถ้ามีคนไอใกล้ๆแล้วเสมหะเล็กๆกระเด็นมาติด เมื่อเราเสยผมมือเปื้อนทันที และถ้ามือโดนหน้าโดยไม่ล้างก็นำเชื้อเข้าแล้ว ดังนั้นถ้ามีโอกาสเมื่อกลับเข้าบ้านควรอาบน้ำสระผมทันที และ"เราต้องไม่เอามือที่ยังไม่ฟอกล้างสะอาดไปโดนหน้า" 5. เสื้อผ้า เหมือนกับเรื่องผม ควรเปลี่ยนเสื้อผ้าทันทีเมื่อเข้าบ้านและแช่น้ำใส่น้ำยาซักไว้แค่นี้ไวรัสก็ตายแล้ว 6. ถอดรองเท้าไว้นอกห้องก็เพียงพอแล้ว ไวรัสไม่ได้ทนจนติดรองเท้ากลับไปในบ้านได้ แต่เชื้อแบคทีเรียทนได้ เราถอดก็ดีเป็นการรักษาความสะอาด 🌸หวังใจว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์พอจะช่วยบรรเทาภาระของบุคคลากรทางการแพทย์ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายครั้งใหญ่และหนักหนาสาหัสเป็นที่สุดครั้งนี้ลงได้บ้าง🌼 ปล: ขอเชิญแบ่งปันกันตามสะดวกค่ะทุกๆท่าน ไม่ต้องให้เครดิตแหม่มหรอกค่ะเพราะนี่เป็นการรวบรวมความเห็นจากนักจุลชีววิทยาหลายๆคนค่ะ
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ทีมวิจัยจุฬาฯ คิดค้นสเปรย์ใช้สำหรับพ่นหน้ากากผ้า ช่วยกันน้ำ-กรองเชื้อโรค เพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันโควิด-19
    ทีมวิจัย ผศ.ดร.ภญ.จิตติมา ลัคนากุล คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คิดค้นนวัตกรรมสเปรย์มีชื่อว่า ชีลด์พลัส โพรเทคติ้ง สเปรย์ (Shield+ Protecting Spray) ปราศจากสารที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ใช้สำหรับพ่นหน้ากากผ้า โดยสเปรย์จะทำหน้าที่เป็นตัวกรองของหน้ากากผ้า ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันไวรัส น้ำและละอองสารคัดหลั่ง สเปรย์ดังกล่าว ได้ผ่านการวิจัยและทดสอบประสิทธิภาพเปรียบเทียบระหว่างหน้ากากผ้าก่อนสเปรย์และหลังสเปรย์ พบว่า หน้ากากผ้าที่ผ่านการพ่นสเปรย์ด้วย Shield+ Protecting Spray เกิดการเชื่อมต่อของเส้นใยผ้ามากขึ้น ทำให้ประสิทธิภาพในการกรองอนุภาคขนาด 0.3 ไมครอนเพิ่มขึ้น 83% และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการกรองเชื้อโรคในน้ำลายและในอากาศได้มากขึ้น 93% และ 142% ตามลำดับ นอกจากคุณสมบัติในการกรองอนุภาคและเชื้อโรคแล้ว หน้ากากผ้าที่ผ่านการใช้สเปรย์ยังพบว่ามีคุณสมบัติในการกันน้ำที่ดีกว่า สเปรย์นี้จึงสามารถใช้เพิ่มประสิทธิผลของหน้ากากผ้าทั่วไป ทำให้ประชาชนหันมาใช้หน้ากากผ้าแทนหน้ากากอนามัยได้อย่างมั่นใจ เปิดโอกาสให้หน้ากากอนามัยทางการแพทย์มีเหลือเพียงพอให้บุคลากรทางการแพทย์และช่วยลดปัญหาหน้ากากอนามัยขาดแคลน และยังเป็นการช่วยลดขยะได้ ในขณะนี้ทางทีมวิจัยและเครือข่ายพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชนได้เริ่มผลิต 10,000 ขวด พ่นหน้ากากได้ประมาณ 240,000 ชิ้น โดยแจกให้กับบุคคลเบื้องหลังที่ทำงานหนักเพื่อตอบสนองนโยบายการหยุดเชื้อเพื่อชาติ ซึ่งประกอบด้วย ทีมสนับสนุนบริการทางการแพทย์ พนักงานขับรถส่งของให้กับโรงพยาบาล ตำรวจและทหารประจำด่านสกัด COVID-19 และพนักงานเก็บขยะที่ช่วยดูแลจัดการของเสียจากครัวเรือน อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นการสนับสนุนทีมงานวิจัยของจุฬาฯ ขอเชิญชวนผู้ที่สนใจร่วมบริจาคได้ที่ https://taejai.com/th/d/savethailandspraymask/ โดยเงินบริจาคที่ได้รับจะถูกนำไปใช้ในการผลิต Shield+ Protecting Spray เพื่อนำไปแจกจ่าย และส่งเสริมให้มีการใช้หน้ากากผ้าแทนหน้ากากอนามัยในบุคคลทั่วไป ภายใต้สถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ในขณะนี้
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ สนามบินสุวรรณภูมิ เปิดตัวระบบตรวจสารคัดหลั่งหาเชื้อ COVID-19 หรือ PRC รู้ผลภายใน 2 ชั่วโมง​ ทดลองตรวจกลุ่มนักการทูตและนักธุรกิจ​ที่ประสานผ่านทางกระทรวงต่างประเทศเดินทางเข้ามาในประเทศ
    การเตรียมความพร้อมมาตรการผ่อนคลายตามประกาศสำนักงานการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (กพท.) ที่จะอนุญาตให้บุคคลและอากาศยานเดินทางเข้าประเทศไทยครอบคลุมบุคคลสัญชาติไทย และบุคคลที่ไม่ได้ถือสัญชาติไทย ที่แจ้งขออนุญาตผ่านกระทรวงการต่างประเทศเดินทางเข้าประเทศ สนามบินสุวรรณภูมิ ร่วมกับ สธ. เปิดตัวระบบตรวจสารคัดหลั่งหาเชื้อ COVID-19 หรือ PRC รู้ผลภายใน 2 ชั่วโมง
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false