1 คนสงสัย
นาซ่าประกาศว่าดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันตก จริงหรือไม่ ?
นาซ่าประกาศว่าดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันตก จริงหรือไม่ ?
AZ
 •  4 ปีที่แล้ว
meter: middle
2 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)
Ruslina เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (นาซา) ยืนยันกับสำนักข่าว AFP ว่าคำกล่าวอ้างเรื่องดวงอาทิตย์ขึ้นจากทิศตะวันตกเป็น “เท็

ที่มา

Ruslina เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (นาซา) ยืนยันกับสำนักข่าว AFP ว่าคำกล่าวอ้างเรื่องดวงอาทิตย์ขึ้นจากทิศตะวันตกเป็น “เท็

ที่มา

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ เมืองไทยค้นพบแสงสีเขียวส่องสว่างเหนือขอบฟ้าทางด้านทิศตะวันตกของไทยคล้ายแสงออโรร่า
    ชาวระนองในหลายหมู่บ้านปากคลอง ต.ปากน้ำ ต.บางริ้น ต.หงาว พบเห็นแสงสีเขียวครอบคลุมท้องฟ้าทางทะเลคล้ายแสงเหนือทางฝั่งยุโรป
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โควิด ติดแล้ว ปอดจะทำงานไม่เหมือนเดิมตลอดไป จริงหรือไม่
    Don't mean to scare you, folks, but be very cautious, be protective & be safe to you all. ********************************************************** บอย วรพล สิงห์เขียวพงษ์ December 29, 2020 at 4:55 PM โควิด-19 เป็นแล้วโอกาสตายน้อยกว่าห้าเปอร์เซ็นต์ จริงครับ > แต่หายแล้ว ปอดอาจพังตลอดชีวิต > ลิเดีย-แข็งแรง เหลือปอดทำงาน หกสิบเปอร์เซ็นต์ > ล่าสุด...31 ธันวาคม 2563 ผู้ว่าจังหวัดสมุทรสาครน่าจะเป็นเคสนี้ครับ บทความนี้ถูกส่งต่อกันมา ผมพอทราบว่ามีส่วนจริง แต่ให้แน่ใจ จึงส่งไปถามเพื่อนที่เป็น...’หมอ’ ! เขาตอบว่า...จริง !!! > โควิด-19 เป็นแล้วตายก็จบไป แต่ถ้าไม่ตายก็ต้องลุ้น ! > คุยกันครั้งใด เขาบอกผม...พี่อย่าให้เป็นนะ อายุเยอะแล้ว ตายก็ลำบากก่อนตาย ไม่ตายก็แย่ไปตลอดชีวิต ยกมา > "ผมกลัว" ที่จะติดเชื้อ Covid-l9 ผมจึงทำตามที่รัฐบาลบอก คือ "อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ" และจะออกจากบ้าน เมื่อจำเป็นจริง ๆ ผมบอกว่า ผมเชื่อว่าใครที่ติดเชื้อ Covid-l9 จะไม่มีวันกลับไป "ปกติ" เพราะปอดจะไม่ทำงานเต็มร้อยอีกแล้ว > แต่...แต่ก่อนที่จะเสียชีวิต หากคุณติดเชื้อ รู้ไหมว่ามันทรมานแค่ไหน > คุณรู้ไหมว่า การรักษาโรคปอดติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2ol9 หรือ Covid-19 มันไม่ใช่แค่ใส่หน้ากากออกซิเจน แล้วนอนอ่านหนังสือ หรือเล่นโทรศัพท์ อยู่บนเตียงสบาย ๆ ในโรงพยาบาล > เพราะเครื่องช่วยหายใจสำหรับผู้ป่วย Covid-19 (บางคน-ไม่ทุกคน) มันสร้างความเจ็บปวด ต้องสอดท่อลงไปในลำคอและคาไว้ จนกว่าจะหาย หรือตายภายใน 2-3 สัปดาห์ โดยแทบไม่สามารถขยับตัว > การรักษานี้ คนไข้จะถูกจับให้นอนคว่ำกลับหัว มีท่อหายใจต่อจากปากขึ้นไปที่เครื่องช่วยหายใจ ไม่สามารถพูด กิน หรือขับถ่ายได้ตามปกติ แถมเจ็บปวดตลอดเวลา > สิ่งที่แพทย์ช่วยได้ก็คือ ให้ยานอนหลับและยาแก้ปวด เพื่อให้แน่ใจว่าคนไข้สามารถทนต่อความเจ็บจากการใส่ท่อช่วยหายใจ เหมือนอยู่ในอาการโคม่าเทียม > ผ่านไป 20 วัน ผู้ป่วยจะสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ สี่สิบเปอร์เซนต์ และมีแผลในปากหรือหลอดลม เช่นเดียวกับปอด เกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจ > นี่คือสาเหตุหลักที่ทำให้คนแก่ หรือผู้ป่วยโรคอื่น เช่น ความดัน หัวใจ ไม่สามารถทนการรักษาได้ และอาจตายในที่สุด >>> ย้ำ..นี่ไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ ! การให้อาหารเหลวใส่หลอดเข้าไปในท้องของคุณ ไม่ว่าจะผ่านจมูกหรือเส้นเลือด การที่ต้องมีพยาบาลมาช่วยขยับแขนขาทุกสoงชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ และต้องนอนบนเตียงน้ำที่เย็น เพื่อช่วยลดอุณหภูมิ 40 องศาของคุณ "มันไม่ใช่เรื่องสนุก" และคนที่บ้านเป็นทุกข์แน่ ๆ นี่คือหนึ่งในเหตุผล ที่ชาติตะวันตก ปล่อยให้ตาย ไม่รับรักษา เพราะสิ้นเปลือง > ผมกลัว...ผมจึงอยู่บ้าน ถ้าคุณไม่กลัว ก็ตามสบายนะครับ ไม่สวมหน้ากากตอนออกจากบ้าน ไม่รักษาระยะห่าง ไปในที่สุ่มเสี่ยง เป็นเรื่องความรับผิดชอบที่คุณมีต่อครอบครัวของคุณเอง > ที่เล่ามาทั้งหมด ก็เพื่อคนที่คุณรัก เพื่อคนที่รักคุณ และ เพื่อตัวคุณเอง #เรียบเรียงบางส่วนจาก LIND ใครจะหาว่าผมตื่นตูม ก็ตามสะดวก แต่ผมว่าเราต้อง ‘ตื่นตัว’ แม้คนที่เป็น ไม่ทุกคนที่จะมีสภาพนี้ แต่ก็มีไม่น้อยที่หายแล้วปอดไม่เต็มร้อย > ผมว่าปอดพังเร็วมาก ยิ่งกว่าสูบบุหรี่ซะอีก > แชร์ได้ ไม่ต้องขอครับ > รักใคร ห่วงใคร ก็แชร์กันไป ถ้าคุณได้รับแชร์นี้มาแสดงว่ามีคนรักคุณ
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กัญชาซาติวา
    เพาะปลูก ตั้งโดย คาโรรัส ลินเนียส Carolus Linnæus หรือ Carl Linnaeus) นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน โดยจัดวงศ์พืชชนิดนี้ไว้เมื่อปี ค.ศ. 1753 (พ.ศ. 2296) มีแหล่งกำเนิดบริเวณเส้นศูนย์สูตร เช่น โคลัมเบีย เม็กซิโก (ทวีปอเมริกา) ตอนกลางของทวีปแอฟริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซาติวามีลำต้นหนา ความสูงเมื่อเติบโตเต็มที่ประมาณ 6 เมตร ใบยาว เรียว สีเขียวอ่อน (เมื่อเทียบกับอินดิกา) ระยะเวลาการเติบโตพร้อมเก็บเกี่ยว 9-16 สัปดาห์ ชอบแดดและ อากาศร้อน ซาติวามีสาร THC (Tetrahydrocannabinol) ที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท (Psychoactive) สูงกว่าอินดิกา
    nattikasaunsawatsuga
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    แดดจัด ร้อนจัด และ ความชื้นสูง สภาพอากาศแบบนี้มีผลต่อความทนทานของโควิดหรือไม่
    เนื่องจากไวรัสตระกูลโควิดเป็นไวรัสที่ชอบอากาศเย็นเพราะระบาดในช่วงหน้าหนาว อูณหภูมิที่ระบาดได้ดีจะอยู่ที่ 5-15 องศาเซลเซียส ช่วงนี้อากาศร้อนขึ้นทำให้ตัวเลขผู้ติดเชื้อในทางแทบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่ำกว่าทางยุโรป เป็นคำถามที่หลายคนอาจจะสงสัย วันที่ 20 เมษายนมีรายงานว่า ที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำกระทรวงความมั่นคงมาตุภูมิสหรัฐอเมริกา เปิดเผยว่า ผลการศึกษาชิ้นใหม่พบว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ถูกทำลายลงได้อย่างรวดเร็วด้วยแสงอาทิตย์ โดยรังสีอัลตราไวโอเลตมีผลต่อสารพันธุกรรมและการแบ่งตัวของเชื้อดังกล่าว
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ประกาศศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ฉบับที่ 4 (35/2565) เรื่อง คลื่นลมแรงและฝนตกหนักในภูเก็ต เรือเล็กต้องระวัง
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    น้ำมันดิบรั่วไหลที่จังหวัดระยอง ไม่ส่งผลกระทบต่อน่านน้ำภาคตะวันออก จริงหรือไม่คะ?
    น้ำมันดิบรั่วไหลที่จังหวัดระยอง ไม่ส่งผลกระทบต่อน่านน้ำภาคตะวันออก จริงหรือไม่คะ?
    Watcharakorn Saensee
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    อย่าทานผลไม้ที่ซื้อมาภายใน 48 ชั่วโมง หรือต้องลวกด้วยน้ำร้อนก่อน เพราะเสี่ยงทำให้ติดเชื้อโควิด-19 ได้ จริงหรือไม่
    ข่าวด่วน ! จากแหล่งข่าวท่ีน่าเชื่อถือในห้องแล็ปของแพทย์ในฮ่องกงวันนี้ “ในห้องทดลองของเรา ได้พบร่องรอยจำนวนไวรัสบนผิวของผลไม้และผักหลังจากลูกค้าท่ีติดเชื้อโควิด-19 จับต้องท่ีผลไม้และผักดังกล่าวเมื่อ 12 ชั่วโมงมาแล้ว แนะนำว่าให้หลีกเลี่ยงการทานสลัด ***** อย่าทานผลไม้ท่ีซื้อมาภายในเวลา 48 ชั่วโมง หรือต้องลวกผลไม้ด้วยน้ำร้อนก่อนปลอกหรือหั่น เบอรรี่ แอปเปิล แตงกวา และมะเขือเทศแย่ท่ีสุด เพราะคนเราจะทานทั้งเปลือก นี่เป็นสิ่งท่ีอธิบายว่าไวรัสระบาดได้รวดเร็วในประเทศตะวันตกมากกว่าในเอเชีย คนเอเชียส่วนมากไม่ทานสลัด และน้อยคนมากที่จะทานเปลือกผลไม้ พวกเราต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าทุกอย่างท่ีมาจากนอกบ้านของเราภายใน 48 ชั่วโมงติดเชื้อทั้งสิ้น เป็นต้นว่า รองเท้า เสื้อผ้า ผมของเรา และอาหารทั้งหมด
    ได้ข่าวมา
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โรคไหลตาย หรือที่ทุกคนอาจจะรู้จักกันในชื่อของ ผีแม่ม่าย แท้ที่จริงแล้วคืออะไรกันแน่?
    จากเหตุการณ์การไหลตายที่เป็นประเด็นดัง จนเกิดการแชร์ต่อและถูกพูดถึงกันอย่างแพร่หลายของในพื้นที่ภาคตะวันออก ที่จังหวัดชลบุรีนั้น เป็นประเด็นที่น่าจับตามองอย่างมาก ซึ่งทั้งหมดเสียชีวิตในลักษณะนอนไหลตายจนทำให้ชาวบ้านเชื่อว่าเกิดจากฝีมือของผีแม่ม่ายออกอาละวาดหรือเกิดตามตำนานความเชื่อที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งประเด็นข่าวลือเรื่องผีแม่ม่าย ได้ถูกบอกและขยายความอย่างรวดเร็วหลังเกิดกระแสในโลกออนไลน์ ซึ่งนอกจากจะมีการแชร์ข้อมูลต่อแล้ว ยังมีการวิพากษ์วิจารณ์ในลักษะของความหวาดกลัวจนเกรงว่าอาจมีมิจฉาชีพสวมรอยเข้ามาหลอกลวงชาวบ้านในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เพราะยังไม่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่สร้างความเข้าใจให้กับชาวบ้าน
    Ravinnipa Yaikaew
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ยาต้านไข้หวัดใหญ่เกือบทั้งหมดมีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย JAMA Internal Medicine 13 มกราคม 2025 • ยาต้านไข้หวัดใหญ่มีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยต่ออัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ทั้งที่มีความเสี่ยงต่ำและมีความเสี่ยงสูง • ยกเว้นบาโลซาเวียร์ตัวเดียวที่อาจเป็นประโยชน์ต่อ“ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง”และ“อาการไม่มาก”แม้ว่ายาตัวนี้อาจส่งผลต่อการดื้อยาได้ 10 % การทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์ข้อมูลรวมของการ ศึกษา 73 รายงาน ที่ประเมินผลของ ยาต้านไวรัสใน“ผู้ป่วยนอก”ที่เป็นไข้หวัดใหญ่ พบว่าบาโลซาเวียร์เป็นยาตัวเดียวที่อาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงแม้ว่ายาตัวนี้อาจส่งผลต่อการดื้อยาก็ตาม บาโลซาเวียร์อาจดีกว่าการรักษาแบบมาตรฐานหรือยาหลอกในการลดความเสี่ยงในการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่เป็นไข้หวัดใหญ่ที่ไม่รุนแรง และมีแนวโน้มที่จะลดระยะเวลาในการบรรเทาอาการลงโดยมีผลข้างเคียงเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย ตามผลของการทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์ข้อมูลรวม เพื่อเปรียบเทียบผลของยาต้านไวรัสในการรักษาไข้หวัดใหญ่แบบไม่รุนแรง นักวิจัยได้ค้นหาฐานข้อมูลออนไลน์ที่เปรียบเทียบ ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ออกฤทธิ์โดยตรง (บาโลซาวิร์ฟาวิพิราเวียร์ ลานินามิเวียร์ โอเซลทามิเวียร์ เปรามิเวียร์ อูมิเฟโนเวียร์ ซานามิเวียร์ และอะแมนทาดีน) กับยาหลอก การดูแลมาตรฐาน หรือยาต้านไวรัสชนิดอื่น ผลลัพธ์ได้แก่ อัตราการเสียชีวิต การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล การเข้ารับการรักษาใน ICU ระยะเวลาในการรักษาในโรงพยาบาล เวลาในการบรรเทาอาการ การเกิดการดื้อยา และเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ • มีการทดลองทั้งหมด 73 รายงาน ซึ่งมีผู้เข้าร่วม 34,332 คนรวมอยู่ในผลการศึกษา ผลการวิจัยได้รับการตีพิมพ์โดย JAMA Internal Medicine เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2025 การวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า • ยาต้านไวรัสทุกชนิดมีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยต่ออัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ทั้งที่มีความเสี่ยงต่ำและมีความเสี่ยงสูงเมื่อเปรียบเทียบกับการดูแลมาตรฐานหรือยาหลอก (มีความแน่นอนสูงสำหรับยาทุกชนิด) • ยาทั้งหมดมีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยต่อการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่ำ (ความแน่นอนสูง) ยกเว้นเพอรามิเวียร์และอะมันทาดีน ซึ่งไม่มีข้อมูลให้ สำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง • บาโลซาวิร์“อาจ”ช่วยลดความเสี่ยงในการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ (ความแตกต่างของความเสี่ยง [RD] -1.6%; ช่วง CI 95% -2.0% ถึง 0.4%; ความแน่นอนต่ำ) • โอเซลทามิเวียร์มีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยต่อการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล (RD] -0.4%; ช่วง CI 95% -1.0% ถึง 0.4%; ความแน่นอนสูง) • และยาอื่นๆ ทั้งหมดอาจมีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่แน่นอน นอกจากนี้ บาโลซาวิร์อาจลดระยะเวลาของอาการได้ (ค่าความแตกต่างเฉลี่ย [MD] −1.02 วัน; ช่วง CI 95% −1.41 ถึง −0.63 วัน; ความแน่นอนปานกลาง) และอูมิเฟโนเวียร์อาจลดระยะเวลาของอาการได้ (MD −1.10 วัน; ช่วง CI 95% −1.57 ถึง −0.63 วัน; ความแน่นอนต่ำ) โอเซลทามิเวียร์อาจไม่มีผลสำคัญต่อระยะเวลาในการบรรเทาอาการ (MD −0.75 วัน; ช่วง CI 95% −0.93 ถึง −0.57 วัน; ความแน่นอนปานกลาง) นอกจากนี้ บาโลซาวิร์ยังมีเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย (RD, -3.2%; 95% CI, -5.2% ถึง -0.6%; ความแน่นอนสูง) และโอเซลทามิเวียร์อาจทำให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอาการคลื่นไส้และอาเจียน (RD, 2.8%; 95% CI, 1.2% ถึง 4.8%; ความแน่นอนปานกลาง) ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านการแพทย์บูรณาการและสาธารณสุข และ ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    ไม่ระบุชื่อ
     •  24 วันที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ศาลญี่ปุ่นสั่งจำคุกคนทำร้ายปวิน 20 เดือน ฐานบุกรุก-ทำร้ายร่างกายจริงไหม
    ศาลแขวงเกียวโต ในนครเกียวโต ของญี่ปุ่น อ่านคำพิพากษาเมื่อวันพุธ (8 มิ.ย.) ให้จำคุก นายทะสึฮิโกะ ซะโต เป็นเวลา 20 เดือนจากการบุกรุกที่พักอาศัยและทำร้ายร่างกายนายปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ นักวิชาการชาวไทย ที่เชี่ยวชาญด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยเกียวโต นักวิชาการรายนี้ ที่ลี้ภัยทางการเมืองอยู่ในประเทศญี่ปุ่น ให้สัมภาษณ์สำนักข่าวบีบีซีไทยว่า พอใจกับคำตัดสินดังกล่าวและดีใจที่ได้รับความยุติธรรมกลับมา นอกจากนี้ยังกล่าวขอบคุณตำรวจและศาลญี่ปุ่นที่ทุ่มเททำงานจนนำตัวคนร้ายมารับโทษได้ในที่สุด นายสะโตก่อเหตุเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2562 โดยสวมเสื้อมีหมวกเพื่อปิดบังใบหน้าและรูปพรรณสัณฐาน ซึ่งขณะนั้นนายปวินและคนรักกำลังอยู่ในที่พัก ทั้งยังฉีดกระป๋องบรรจุสารเคมีใส่นักวิชาการรายนี้และคนรักด้วย แม้ระหว่างพิจารณาคดี นายสะโต ผู้ก่อเหตุวัย 43 ปี รับสารภาพว่าเป็นคนลงมือทำจริง โดยได้รับการจ้างวานจากบุคคลหนึ่ง โดยตอนแรกตนปฏิเสธ แต่ต่อมาถูกขู่จึงตัดสินใจรับงานทำร้ายร่างกายครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม นายสะโตไม่ยอมเปิดเผยต่อศาลว่าใครเป็นผู้จ้างวาน
    Somphot Singkhot
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false