1 คนสงสัย
การล็อกดาวน์ไม่ช่วยลดฝุ่น PM 2.5
ไม่ระบุชื่อ
 •  15 วันที่แล้ว
1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
meter: middle
2 ความเห็น

สุขภาพสภาพอากาศ

Joke Air เลือกให้ข้อความนี้💬 มีความเห็นส่วนตัว

เหตุผล

...

ความเห็นต่าง

ถ้าหาก PM 2.5 ส่วนใหญ่เกิดจากยวดยานพาหนะ การล็อกดาวน์ก็จะช่วยได้ แต่เชื่อว่าจะได้ไม่คุ้มเสียเพราะกิจกรรมทางเศรษฐกิจจะลดลงหรือจะหยุดชะงักลง
อีกทั้งในบริบทของไทยเรา ปัญหา PM2.5 ส่วนใหญ่น่าจะเกิดจากการเผา ทั้งป่าและพื้นที่เกษตรกรรม การล็อกดาวน์ก็คงจะไม่ช่วยแก้ปัญหา
thanathun เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

ผลวิจัยพบว่า ในช่วงล็อกดาวน์เนื่องจากไวรัสโควิด-19 ความเข้มข้นของปริมาณฝุ่น PM 2.5 บริเวณริมถนนลดลง 18.6% และในบริเวณโดยรอบลดลง 9.2% เมื่อเท

ที่มา

https://tna.mcot.net/sureandshare-1484987
  • มี 1 ความเห็น เจ้าของลบไปแล้ว.
  • เพิ่มความเห็นใหม่

    กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

    คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ทาปิโตรเลียมเจลลี่ในรูจมูก ช่วยป้องกันและดักจับฝุ่น PM 2.5 ไม่ให้เข้าสู่ร่างกาย ??
    ทาปิโตรเลียมเจลลี่ในรูจมูก ช่วยป้องกันและดักจับฝุ่น PM 2.5 ไม่ให้เข้าสู่ร่างกาย
    Cofact_แสงเหนือ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    หน้ากาก N95 และหน้ากากอนามัย ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้ขนาดไหน?
    หน้ากาก N95 และหน้ากากอนามัย ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้ขนาดไหน?
    Veerayutt Tum
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ทำไม? ค่ามาตรฐานฝุ่น PM 2.5 ของไทย ไม่เท่า WHO
    ทำไม? ค่ามาตรฐานฝุ่น PM 2.5 ของไทย ไม่เท่า WHO
    Thanapong Wangthong
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คพ. ร่วมกับ 9 ค่ายรถยนต์ เปิดโครงการคลินิกรถ ลดฝุ่น PM 2.5 ปี 2566
    คพ. ร่วมกับ 9 ค่ายรถยนต์ เปิดโครงการคลินิกรถ ลดฝุ่น PM 2.5 ปี 2566
    thanathun
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การฉีดพ่นน้ำ ช่วยให้ค่าฝุ่น PM 2.5 ลดลงได้ จริงหรือ
    ฝุ่น PM 2.5 มาแล้ว นะ!! ทหารพัฒนา เริ่มฉีดพ่นละอองไอน้ำ ในพื้นที่ กทม. แล้ว หลังพบ ค่าฝุ่น ชึ้นสีส้ม วันนี้.... ขึ้นเป็นสีส้ม หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา (นทพ.) กองทัพไทย พร้อมด้วยโรงเรียนช่างฝีมือทหาร.สปท. ได้นำรถพ่นละอองไอน้ำ ออกฉีด เพื่อลดค่า PM 2.5 ในพื้นที่เขตบางเขน บริเวณวัดพระศรีมหาธาตุฯ ที่เมื่อเช้านี้ ขึ้นสีส้ม เลยทีเดียว
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ฝุ่น PM 2.5 เป็นพาหะของเชื้อไวรัสโควิด จริงหรือ
    ผศ.รุจิกาญจน์ นาสนิท อาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อธิบายว่า พบความสัมพันธ์ของการเสียชีวิตจากโควิด-19 และฝุ่น PM2.5 ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา เนเธอแลนด์ มีอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสัมพันธ์กับความเข้มข้นของฝุ่น PM 2.5 ที่เพิ่มขึ้น จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ แอป Air4thai ของกรมควบคุมมลพิษ ตั้งค่าเฉลี่ยตรวจวัดฝุ่น PM 2.5 ต่ำกว่ามาตรฐาน
    ในขณะที่สภาพอากาศแย่ แอปพลิเคชัน Air4thai ของกรมควบคุมมลพิษ กลับแสดงสีเขียว แตกต่างจากแอปของเอกชนที่แสดงสีแดง จึงมีการตั้งข้อสงสัยว่าแอป Air4thai ของภาครัฐมีการตั้งค่าเฉลี่ยตรวจวัดฝุ่น PM 2.5 ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    นักวิจัยสหรัฐชี้ว่าผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่มีฝุ่น PM 2.5 มานานกว่า 10 ปีมีโอกาสเสียชีวิตจากโควิด 19 มากกว่าคนพื้นที่อื่น
    ข้อสรุปนี้มาจากการศึกษาของนักวิจัยมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดที่วิเคราะห์ข้อมูลค่าฝุ่นละอองอากาศในช่วง 17 ปีที่ผ่านมา ใน 3,080 เขตของสหรัฐอเมริกากับจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคโควิด-19 จนถึง 4 เมษายน เพื่อหาความเชื่อมโยงระหว่างมลพิษในอากาศ และผู้เสียชีวิตหรือมีอาการหนักจากโรคโควิด-19 ในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา นับเป็นครั้งแรกที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติระดับประเทศที่แสดงการเชื่อมโยงระหว่างอัตราการเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 และโรคอื่นๆ กับการสัมผัสกับฝุ่น PM 2.5 ในระยะยาว ฟรานเซส โดมิชี ศาสตราจารย์ด้านชีวสถิติ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด หัวหน้าทีมวิจัยกล่าวว่า ผลการศึกษานี้เป็นหลักฐานที่บ่งชี้ว่า เขตที่มีมลพิษทางอากาศมากกว่า ประชาชนเสี่ยงที่จะเสียชีวิตจากโควิด-19 มากกว่า รวมทั้งมีจำนวนผู้ที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และเสียชีวิตมากกว่า ข้อมูลนี้น่าจะเป็นประโยชน์ต่อพิจารณาในการจัดสรรทรัพยากร นักวิจัยพบว่า ผู้ที่อยู่ในเขตที่มีฝุ่น PM 2.5 มานาน 10 ปี มีโอกาสที่จะเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 มากกว่าคนที่อาศัยในพื้นที่อื่น ซึ่งสัมผัสฝุ่นน้อยกว่าแค่ 1 หน่วย 15% ตัวอย่างเช่น หากแมนฮัตตันมีค่าเฉลี่ยของฝุ่น PM2.5 ในระดับที่น้อยลงกว่านี้เพียง 1 ไมโครกรัมต่อ 1 ลูกบาศก์เมตรในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา แมนฮัตตันก็จะมีผู้เสียชีวิตน้อยลงกว่าตอนนี้ 248 คน ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ช่วยให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประเมินการจัดสรรเครื่องมือทางการแพทย์ เช่น เครื่องช่วยหายใจในพื้นที่ต่างๆ ได้ ในระยะสั้น โดมิชิและผู้เชี่ยวชาญสาธารณสุขกล่าวว่า ข้อค้นพบนี้บ่งบอกว่า พื้นที่อย่างเซนทรัลวาลลีย์ของแคลิฟอร์เนีย หรือเขตคูยาโฮกา รัฐโอไฮโออาจต้องเตรียมรับมือกับผู้ป่วยโรคโควิด-19 ระดับรุนแรงมากกว่า ผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่พบว่า ผู้ที่สัมผัสกับมลพิษอากาศมาก็ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคซาร์สในปี 2003 นักวิจัยระบุว่า ผลการศึกษาเน้นให้เห็นถึงความสำคัญของการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องสุขภาพของมนุษย์ทั้งระหว่างและหลังจากวิกฤตโควิด-19 อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ข้อมูลไม่ได้ดูข้อมูลในระดับบุคคล และไม่ได้ตอบคำถามว่าทำไมบางพื้นที่จึงมีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตมากกว่าเขตอื่นๆ ในสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ก็ยังไม่แน่ชัดว่าฝุ่น PM 2.5 มีบทบาทอย่างไรต่อการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยใหญ่ที่กำลังดำเนินการอยู่ในพื้นที่อื่นๆ นอกสหรัฐอเมริกา เพื่อดูว่าการหายใจเอาอากาศที่สกปรกเข้าไปในช่วงชีวิตหนึ่งจะทำให้คนติดไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ได้มากขึ้นแค่ไหน
    anonymous
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คาดการณ์ปริมาณผลไม้ภาคตะวันออกปี 65
    #เศรษฐศาสตร์ตลาดสด สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เผยข้อมูลการพยากรณ์ไม้ผลตะวันออกของสินค้า 4 ชนิด ปี 2565 ได้แก่ ทุเรียน มังคุด เงาะ และลองกอง ในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จันทบุรี ระยอง ตราด คาดว่าจะมีประมาณ 1,139,393 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 27 จากปี 2564 เนื่องจากปีนี้สภาพอากาศเอื้ออำนวยช่วงปลายปีเริ่มหนาวเย็นเร็วส่งผลต่อการออกดอกติดผล สศก. คาดว่าปริมาณผลผลิตมังคุดจะเพิ่มขึ้นมากที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 81 เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นช่วงปลายปี 2564 เอื้ออำนวย และต้นมังคุดส่วนใหญ่ได้พักต้นจากที่มีปัญหาไม่ค่อยออกดอก-ติดผลในปีที่ผ่านมาส่งผลให้ต้นมังคุดมีอาหารสะสมอยู่เต็มที่ ปี 2564 รองลงมาคือ ปริมาณผลผลิตทุเรียนและเงาะเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 และร้อยละ 5 ตามลำดับ ในขณะที่ปริมาณผลผลิตลองกองน่าจะลดลงร้อยละ 9 เนื่องจากปัญหาราคาตกต่ำอย่างต่อเนื่อง ลองกองส่วนใหญ่จะขายภายในประเทศ มีข้อจำกัดปัญหาการส่งออกของตลาดต่างประเทศ ประกอบกับมีปัญหาขาดแคลนแรงงานสำหรับตกแต่งช่อลองกอง จนทำให้เกษตรกรโค่นต้นลองกองเพื่อไปปลูกผลไม้ชนิดอื่นแทน ทั้งนี้ สศก. มองภาพรวมภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 1.5 จากปี 2563 ในปี 2565 ทิศทางราคาสินค้าเกษตรหลายชนิดปรับดีขึ้น อันเป็นผลจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก การผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ ยอดส่งออกสินค้าเกษตรปรับตัวตามความต้องการของประเทศคู่ค้าอย่างต่อเนื่อง สำหรับปัจจัยเสี่ยงที่ต้องระวัง คือ ความท้าทายการระบาดของโรคพืชส่งผลต่อการผลิต ความผันผวนของค่าเงินบาทมีผลต่อความสามารถในการแข่งขันส่งออกสินค้าเกษตรไทย รวมทั้งปัจจัยเรื่องราคานํ้ามันดิบที่มีทิศทางสูงขึ้นส่งผลต่อการขนส่งและต้นทุนปัจจัยการผลิตเช่นกัน สรุปมาตรการที่ช่วยเหลือสำคัญ คือ ล่าสุดกระทรวงเกษตรฯ เร่งเจรจาเปิดด่านส่งออกผลไม้ไปยังจีนเพิ่มขึ้น โดยจีนเปิดด่านรถไฟผิงเสียง (เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง) โดยกำหนดให้นำเข้าผลไม้ไทยได้ตั้งแต่ วันที่ 4 มกราคม 2565 เพื่อคลี่คลายปัญหากรณีด่านตงซิงที่ปิดไป และมีมาตรการ Covid Certification ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ประเทศคู่ค้า นอกจากนี้ปีที่ผ่านมาเร่งนำเข้าตู้คอนเทนเนอร์กลับจากจีนและเวียดนามหมุนเวียนกลับมาไทยโดยเร็ว การผ่อนปรนมาตรการควบคุมโควิดและอำนวยความสะดวกให้ผู้ค้าและล้งจากภาคตะวันออกสามารถเดินทางข้ามจังหวัดได้ตามปกติ การเร่งรณรงค์การบริโภคผลไม้ภายในประเทศ อีกทั้งขยายการค้าทุกแพลตฟอร์มออนไลน์และออฟไลน์ โมเดิร์นเทรด โดยขอความร่วมมือภาคเอกชนและภาครัฐหลายภาคส่วน สนับสนุนค่าขนส่งสำหรับผลไม้ที่ส่งผ่านไปรษณีย์ เป็นต้น ปัญหาราคาผลไม้ตกต่ำเป็นไปตามฤดูกาลทุกปี แต่ช่วง 2 ปีที่ผ่านมาสถานการณ์แพร่ระบาดโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อชาวสวนผลไม้เช่นเดียวกับเกษตรกรกลุ่มอื่นอย่างมาก หวังว่าปีนี้รัฐบาลเตรียมแนวทางรับมือแก้ปัญหาสินค้าผลไม้ล้นตลาดและหากสถานการณ์แพร่ระบาดยังยืดเยื้อกว่าที่คาดการณ์ไว้
    Thanyaphon Phuangket
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false