3 คนสงสัย
ความดันโลหิตสูงแก้ได้โดยการกำมือ – แบมือ
กรณีที่มีผู้ส่งต่อข้อมูลด้านสุขภาพว่า ความดันโลหิตสูงแก้ได้โดยการกำมือ – แบมือ ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ข้อมูลที่กล่าวถึงเรื่องข้างต้น เป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง กล่าวคือ การกำมือและแบมือดังข้อความที่พูดถึงนั้น ไม่มีผลทางการแพทย์ที่สามารถอธิบายหรือยืนยันได้ว่า วิธีการดังกล่าวจะสามารถลดความดันโลหิตได้
std48141
 •  2 ปีที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)
Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

จากกรณีที่มีผู้ส่งต่อข้อมูลด้านสุขภาพว่า ความดันโลหิตสูงแก้ได้โดยการกำมือ - แบมือ ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอ

ที่มา

https://mgronline.com/uptodate/detail/9660000057707

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ มีโอกาสเสียชีวิตจากโควิด 19 มากกว่าคนปกติอย่างน้อย 5 เท่า
    ในการวิเคราะห์ขนาดใหญ่ครั้งแรกในผู้ติดเชื้อมากกว่า 44,000 ในประเทศจีน อัตราการเสียชีวิตในผู้สูงอายุสูงกว่าคนวัยกลางคนถึง 10 เท่า ผู้ที่ป่วยเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หรือปัญหาในการหายใจ มีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าคนปกติอย่างน้อย 5 เท่า และผู้ชายมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าผู้หญิงเล็กน้อย
    naruemonjoy
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กินกระเทียมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้จริงไหม
    กินกระเทียมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงได้จริงไหม
    Mrs.Doubt
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เสนอโครงการโดย อสม. ทำได้หรือไม่ ถ้าทำได้สามารถจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงให้กับ อสม. ได้หรือไม่ ?
    รู้ชัด ทำได้ สไตล์ กปท. (Ep.20) ❓ ไขข้อสงสัย❓ 📌 โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เสนอโครงการโดย อสม. ทำได้หรือไม่ ถ้าทำได้สามารถจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงให้กับ อสม. ได้หรือไม่ ❓ #กองทุนกปท #คัดกรองโรคเบาหวาน #คัดกรองความดันโลหิตสูง #อสม #อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน #จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยง มาร่วมไขข้อสงสัยด้วยกันผ่านทาง...
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กำมือ-แบมือ ข่าวปลอม! แก้โรคความดันโลหิตสูง แค่กำมือ – แบมือ
    มีคนบอกว่าสามารถแก้โรคความดันโลหิตสูงได้เพียงแค่ กำมือ-แบมือ ข่าวปลอม! แก้โรคความดันโลหิตสูง แค่กำมือ – แบมือ | Hfocus.org แก้โรคความดันโลหิตสูง แค่กำมือ – แบมือ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ตรวจสอบเรื่อง ความดันโลหิตสูงแก้ได้โดยการกำมือ-แบมือ กับโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
    std47905
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    การกำหนดความดันโลหิตมาตรฐาน
    โปรดแบ่งปันข้อมูลใหม่นี้กับเพื่อนและครอบครัวของคุณ A.S.A.P. ประกาศโดย Dr.Mingxiong Guo (Jing Qi) 🇺🇸สหรัฐอเมริกาได้กำหนดอย่างเป็นทางการว่าความดันโลหิตมาตรฐานคือ 150/90 สำหรับผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปและสำหรับผู้สูงอายุปกติที่อายุมากกว่า 80, 160 หรือ 170 ก็เป็นที่ยอมรับเช่นกัน ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเราทุกคนได้รับผลกระทบจาก "มาตรฐานเดิม" (ไม่เกิน 120) ที่มุ่งเน้นไปที่ผลประโยชน์ทางธุรกิจทางการแพทย์ในอดีตซึ่งก่อให้เกิดภาระทางจิตใจของความดันโลหิตสูงที่ไม่จำเป็นต่อผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 หรือ 70 ปี! จากนี้เราต้องแก้ไขความคิดผิด ๆ ที่สอนโดยแพทย์ โปรดดูรายงานต่อไปนี้ 〖โปรดดูที่การแบ่งปันความดันโลหิต〗: ล้มล้างความเข้าใจเรื่องความดันโลหิตปกติ! ความดันโลหิตปกติสำหรับวัยต่างๆควรเป็นอย่างไร? ความดันโลหิตซิสโตลิกปกติ = ความดันโลหิตซิสโตลิกที่คำนวณได้ของ Wu = (อายุ 82 ปีขึ้นไป) ตัวอย่าง: อายุ 75 ปี = 82 + 75 = 157 【สรุปแล้ว】 ความดันโลหิตซิสโตลิกปกติ: ชาย = 82 + อายุ, หญิง = 80 + อายุ, ตัวบ่งชี้สุขภาพ (ปกติ): วัดความดันโลหิตซิสโตลิก = ความดันโลหิตซิสโตลิกปกติ Guo Mingxiong (Zong Qi) 102 คณบดีโรงพยาบาลที่สามของวิทยาลัยการแพทย์ปักกิ่งบอกว่าผู้ที่มีอายุมากกว่า 70 ปีไม่สามารถมีความดันโลหิตสูงต่ำกว่า 130 ได้มิฉะนั้นจะมีแนวโน้มที่จะเกิดความดันเลือดต่ำและเป็นลมได้ ความดันโลหิตสูงระหว่าง 150 ถึง 130 ปลอดภัยกว่า จะดีกว่าที่จะสูงกว่า , อย่าต่ำ. น้ำตาลในเลือดก็เช่นเดียวกัน มาตรฐานควรจะผ่อนคลายเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารของผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุมากกว่า 60 ปีควรควบคุมให้อยู่ที่ประมาณ 6.5 ผู้ที่อายุมากกว่า 70 ปีควรควบคุมให้อยู่ที่ประมาณ 7.5 และส่วนใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 80 ปีไม่ควรเกิน 8.0 เป็นครั้งคราวประมาณ 8.5 อันตรายของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำยิ่งน่ากลัว 😱ขอให้ทุกครอบครัวมีสุขภาพแข็งแรง!
    Mrs.Doubt
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    โสม ไม่เหมาะกับคนที่เป็นความดันโลหิตสูง จริงหรือ
    โสม ไม่เหมาะกับคนที่เป็นความดันโลหิตสูง จริงหรือ
    Mrs.Doubt
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    #กินเค็มระวังความดันขึ้น…
    #กินเค็มระวังความดันขึ้น… คำแนะนำทางการแพทย์ดังกล่าวนี้ ผมได้ยินมาตั้งแต่เป็นนักเรียนแพทย์… จนเป็นอาจารย์ และในที่สุด จนเป็นความดันโลหิตสูง เสียเอง ใช่ครับอ่านไม่ผิดหรอกครับ ผมมี ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 2 ปี แล้วผมจะได้รับคำแนะนำให้เริ่มต้นรักษา ด้วยการปรับวิธีการใช้ชีวิต และหนึ่งคำแนะนำนั้นก็คือ หมอต้องลดปริมาณเกลือในอาหารลงเยอะๆเลยนะครับ… ถ้าไม่ดี เดี๋ยว start amodipine เลยนะ ผมก็พยายามควบคุมทุกอย่าง งดอาหาร ที่มีรสชาติเค็มที่ผมรัก แกงไตปลา สะตอผัดกะปิ และ ทานน้ำมากๆ…. แต่ที่ผมยังกินอยู่เหมือนเดิมก็คือ เข้าไปน้ำตาล แต่เหมือนดูจะไม่ดีขึ้นก็คือ ผมยังคงอ้วนลงพุง มีกรดยูริคสูง มีไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูงของผมไม่ดีขึ้น กลับแย่ลงจนกระทั่ง หรือ เพราะว่า เส้นเลือดของผมเริ่มแข็ง กรอบเหมือนเส้นเลือดคนแก่ ทั้งๆที่อายุยังไม่ถึง 50 จริงๆเนี่ยนะ… ในที่สุด เกิดภาวะวิกฤตบางอย่างกับตัวผม เนื่องจากความดันโลหิตที่สูงอย่างมาก…. ซึ่งผมเคยเล่าให้เพื่อนๆฟังว่าตอนนั้นมันเกิดอะไรบ้าง มันเป็นจุดเปลี่ยนที่ผมคิดว่าผมจะต้องทำอะไรบางอย่าง เพื่อหลุดพ้นจากภาวะนี้ จากวิกฤตนั้น ผมจึงคิดทบทวนใหม่ว่า ผู้ร้ายตัวจริงที่สร้างปัญหาให้กับผมตอนนี้ มันต้องไม่ใช่ แค่ การกินเค็ม การกินกาแฟ หรือ เส้นเลือดผมแข็งกรอบตามวัยมากจนเกินไป…. ผมจึงจะเริ่มตั้งต้นจากคำว่า metabolic syndrome ซึ่งเป็นความผิดปกติทั้งหมดที่ผมมี ไม่ว่าจะเป็น อ้วนลงพุง ความดันสูง ไขมันในเลือด ยูริคสูง… หลังจากนั้นผมก็เริ่มรู้ว่า สิ่งที่ผมเป็น ว่าเกิดจากสิ่งที่เรียกว่า ภาวะดื้ออินซูลิน หรือ insulin resistance… มาจากการบริโภค น้ำตาล น้ำหวาน คาร์โบไฮเดรตแปรรูป แบบไร้ระเบียบวินัยของตัวผม ตลอดระยะเวลานับ 10 ปีที่ผ่านมา จากการทบทวนความรู้ต่างๆทำให้ผมพบว่า ภาวะดื้ออินซูลินนั้น ส่งผลกระทบ ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง ด้วยกลไกหลายอย่าง ได้แก่ 1) มีการเพิ่มการดูดกับโซเดียมที่หน่วยไตหลายตำแหน่ง 2) มีการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติกผ่าน RAAS 3) มีการเพิ่มการหดตัวของกล้ามเนื้อในหลอดเลือด ผ่านกลไกของ การเพิ่มแคลเซียมเข้าเซลล์ รูปภาพที่ประกอบการโพสต์นี้ แสดงให้เห็นถึงผลของ ฮอร์โมนอินซูลิน ที่มีต่อการกระตุ้นให้ไต เกลือโซเดียมเข้าสู่ร่างกายมากขึ้น ผ่าน receptor ต่างๆในรูป ดังนั้นการรักษาภาวะ ดื้อต่ออินซูลิน หากประสบความสำเร็จในการักษา ก็จะส่งผลให้ความดันโลหิต กลับมาสู่สภาวะปกติได้ และมีรายงานการรักษา ในแนวทางนี้หลายรายงาน พบว่าสามารถช่วยให้ผู้ป่วย สามารถลดและหยุดยาลดความดันโลหิตได้ แล้วภาวะดื้อต่ออินซูลิน ผู้ต้องหาในคดี metabolic Syndrome เกิดจากอะไร… ถ้าได้ติดตามที่ผมเขียนมาตั้งแต่ต้น ก็จะตอบได้ทันทีว่า "เกิดจากการบริโภค น้ำหวาน น้ำตาล คาร์โบไฮเดรตแปรรูปต่างๆ ในปริมาณที่มาก แล้วต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ" ดังนั้น ผู้ต้องหาตัวจริง ก็คงหนีไม่ น้ำตาลน้ำหวานและคาร์โบไฮเดรตแปรรูป ที่เรารับประทานอย่างมาก ไม่มีขีดจำกัด ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆนั่นเอง ถ้าผมเลือกรักษาตัวเองที่ปลายเหตุมันง่ายมากเลยครับ คือ รักษาตามกลไกล ข้อ 1) ทานยา HCTZ กลไกล ข้อ 2) ทานยา enalapril และ กลไกลข้อ 3) ทานยา amlodipine เลือกเอาเลย… ทานยาลดความดันแล้วนั่งดูความดันลด ปรับยา แต่ผู้ร้ายต้นเหตุไม่ถูกกำจัด… รอวันสร้างหายนะรอบใหม่ ทีหนักกว่าเดิมนั่นคือ เบาหวานชนิดที่2 และก็ต้องถามตนเองว่า แล้วผมต้องกินยาถึงเมื่อไหร่อีกด้วยครับ… ผมเลยตัดสินใจทดสอบ สิ่งที่ผมได้เรียนรู้ ในครั้งนี้กับตัวผมเอง ด้วยการรักษาตนเอง ตามแนวทางของการ รับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตต่ำ และจำกัดเวลาในการรับประทานอาหาร… และผมต้องใช้ความอดทน และการปรับตัว อย่างสูงมาก เพราะเดิมพันนี้มันคือ ชีวิตของตนเอง ผ่านไป 1 เดือน ผมไม่เคยมีระดับความดัน 160/100 อีก ยังมี ตัวบน 130-140 บ้าง… และที่ระยะเวลาผ่านไป 3 เดือนความดันตัวบน (Systolic) ของผม ไม่เคยเกิน 120 ตัวล่างไม่เคยเกิน 80 อีกเลย แม้จะวัดในสภาวะหลังออกกำลังกายทันทีก็ตาม… ร่วมกับน้ำหนักตัวที่หายไปกว่า 13 กิโลกรัม (วิชาตัวเบามันเป็นแบบนี้นี่เอง) สรุปคือ ผู้ร้ายตัวการ ตัวสำคัญสำหรับโรคความดันโลหิตสูง นั่นก็คือ "ภาวะดื้อต่ออินซูลิน" อันเนื่องมาจาก การบริโภคน้ำตาล คาร์แปรรูปนั่นเอง เขียนแบบนี้แล้ว ไม่ใช่ว่าจะ ไปกินเค็มหนักๆ อันนั้นก็ไม่ควรนะครับ แม้เขาไม่ใช่ผู้ร้ายตัวจริง แต่ถ้าเรากินแบบไม่คิด ผู้ร้ายตัวปลอมนี้เขาก็พร้อมจะพายเรือให้โจรนั่งนะครับ ผมหวังว่าสิ่งนี้จะมีประโยชน์ กับผู้ติดตามทุกท่าน ในการนำไปปรับใช้ อย่ารอให้ ชีวิตต้องเจอแบบที่ผมเจอ แล้วจะคิดจะเริ่มนะครับ #หมอจิรรุจน์ สำหรับท่านที่สนใจเนื้อหาเพิ่มเติม เราเข้าไปอ่านใน Reference ที่แนบไว้ได้นะครับ ที่มาภาพ: Insulin resistance and hypertension: new insights, Kidney International Vol.87 2015 ที่มาข้อมูล Obesity-related hypertension: pathogenesis, cardiovascular risk, and treatment. A position paper of The Obesity Society and the American Society of Hypertension. J Clin Hypertens (Greenwich). 2013; 15: 14 Insulin resistance, obesity, hypertension, and renal sodium transport. Int J Hypertens [online]. 2011; 2011: 391762
    Mrs.Doubt
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เสี่ยงโรคไตวายและความดันโลหิตสูงจริงหรือ?
    กินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เสี่ยงโรคไตวายและความดันโลหิตสูงจริงไหม
    pateehah200
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false